โดย นายแพทย์อิทธิพล สูงแข็ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การติดตามประเมินผล ปี 2552
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ประเด็นการตรวจราชการ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การตรวจราชการและนิเทศงาน รอบ 1 ปี 2557 จังหวัดเลย
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การตรวจราชการ ปีงประมาณ 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายแพทย์อิทธิพล สูงแข็ง แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน เขตบริการสุขภาพที่ 7 โดย นายแพทย์อิทธิพล สูงแข็ง สาธารณสุขนิเทศก์ วันที่ 24 ธันวาคม 2556 ณ ห้องมงกุฎนาก โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น

การตรวจราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ผู้ตรวจราชการกระทรวง เป้าหมายยุทธศาสตร์กระทรวง นโยบายสำคัญ ภารกิจเร่งเด่วน ธรรมมาภิบาล ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจราชการ ปี 2548 นโยบายปฏิรูปกระทรวง การตรวจราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 การตรวจราชการ แบบบูรณาการ การตรวจราชการ กรณีปกติ การตรวจราชการ กรณีพิเศษ การตรวจ ธรรมมาภิบาล สำนักนายกฯ Internal Audit External Audit - เมื่อมีนโยบายเร่งด่วน - ตามความประสงค์ ของผู้บริหาร - เรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ - คดี ทุจริต - ตรวจสอบภายใน แผนสำนักนายกฯ แผนตรวจราชการ ผู้ตรวจ ราชการกระทรวง ผู้ตรวจ ราชการกระทรวง - สาธารณสุขนิเทศก์ - ผู้ตรวจราชการกรม - ผู้ตรวจราชการจังหวัด ผู้ตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข นิเทศก์ - คตป. - กลุ่มตรวจสอบภายใน กสธ. - กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. - สวค. * KPI * Performance * ผลลัพธ์ถึงประชาชน * กำกับท้องถิ่น เอกชน

กรอบประเด็นการตรวจราชการ ปี 2557 ตรวจติดตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์กระทรวงฯ ตรวจติดตาม กฎหมายสำคัญ 2 ภารกิจ 4 หัวข้อ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 2 การพัฒนาระบบและจัดระบบบริการฯ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการฯ 4 กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภค 17 ประเด็นการตรวจราชการ 1.1 กระบวนการ บริหารงานส่งเสริม สุขภาพและป้องกันโรค 1.2 ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพ ตามกลุ่มวัย 5 กลุ่ม 1.3 ผลลัพธ์ของการ ดำเนินงานปัญหา สุขภาพใน พื้นที่ (Area Base) 2.1 ผลการดำเนินงาน Service Plan 2.2 ผลการดำเนินการ จัดบริการร่วม 2.3 ผลการจัดบริการ เฉพาะ 2.4 การตรวจรับรอง คุณภาพ 3.1 การวางแผน 3.2 การบริหารและจัดการ ทรัพยากรบุคคล 3.3 การบริหารงบประมาณ การเงินและการคลัง 3.4 การบริหารเวชภัณฑ์ และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา 3.5 การควบคุมภายใน 3.6 การจัดการเรื่องร้องทุกข์ 3.7 การสื่อสารและสารนิเทศ 4.1 ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4.2 ระบบบริหารจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 4.3 ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนการคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยรับตรวจ เขต สสจ. รพศ./รพท. รพช. สสอ. รพ.สต.

การตรวจราชการแบบบูรณาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ครัวไทยสู่ครัวโลก (VC) ครัวไทยสู่ครัวโลก (VC) ท่อง เที่ยว Logistic การศึกษา สาธารณสุข แรงงาน ภัยพิบัติ ระเบียบ/กฎหมาย กระทรวงสาธารณสุข เกี่ยวข้องในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 และ 2

1) การขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว (3 สัญชาติ พม่า ลาว กัมพูชา) ประเด็นการตรวจราชการของ กสธ. 1. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ครัวไทยสู่ครัวโลก โครงการพัฒนามาตรฐานการผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายตามมาตรฐาน (Primary GMP) ผู้รับผิดชอบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 2. ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การดำเนินการก่อนเข้าสู่การเป็นประชาคม อาเซียน ปี ๒๕๕๘ โครงการดูแลสุขภาพแรงงานต่างด้าว 1) การขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว (3 สัญชาติ พม่า ลาว กัมพูชา) 2) การประกันสุขภาพ แรงงานต่างด้าว 3) การรักษาพยาบาล (ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอก-ผู้ป่วยในต่อปี) 4) การส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค เช่น การฝากครรภ์ เท้าช้าง TB วัคซีน (EPI)

กรอบการตรวจราชการ เขตบริการสุขภาพที่ 7 ปี 2557 กรอบการตรวจราชการ เขตบริการสุขภาพที่ 7 ปี 2557 แผนการตรวจราชการ 4 คณะ 5 ยุทธศาสตร์หลัก เขต 7

ยุทธศาสตร์กระทรวง 3 ยุทธศาสตร์ แผนการตรวจราชการ 4 คณะ 2 ภารกิจ ยุทธศาสตร์กระทรวง 3 ยุทธศาสตร์ นโนบายสำคัญ 4 หัวข้อ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 1.1 กระบวนการ บริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 1.2 ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพตามกลุ่มวัย 5 กลุ่ม 1.3 ผลลัพธ์ของการดำเนินงานปัญหา สุขภาพในพื้นที่ (Area Base) 2 การพัฒนาระบบและจัดระบบบริการฯ 2.1 ผลการดำเนินงาน Service Plan 2.2 ผลการดำเนินการจัดบริการร่วม 2.3 ผลการจัดบริการเฉพาะ 2.4 การตรวจรับรอง คุณภาพ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการฯ 3.1 การวางแผน 3.2 การบริหารและจัดการทรัพยากรบุคคล 3.3 การบริหารงบประมาณ การเงินและการคลัง 3.4 การบริหารเวชภัณฑ์และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา 3.5 การควบคุมภายใน 4. กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภค 4.1การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข

5 ยุทธศาสตร์เขตบริการสุขภาพที่ 7 1.พัฒนาระบบการจัดการลดโรคและปัญหาสาธารณสุขของเขตบริการสุขภาพที่ 7 บนฐานองค์ความรู้และปัญญา 2.พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพทุกระดับให้ได้คุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม เป็นธรรม ประชาชนเข้าถึงบริการแบบไร้รอยต่อ 3.สร้างความเข้มแข็งระบบเฝ้าระวังและจัดการโรค และภัยคุกคามสุขภาพ 4.พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ 5.สร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพในการส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัยให้มีสุขภาพดีอายุยืน

วัตถุประสงค์ของการตรวจราชการ 1. ตรวจดูการบริหารงานให้เป็นไปตามความคาดหวังของรัฐบาลตามงาน INSPECTION 1.1 งานตามนโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1.2 งานที่จังหวัดวิเคราะห์เห็นว่ามีปัญหาและต้องการพัฒนา 1.3 งานที่ผู้ตรวจราชการและคณะเห็นว่าควรทำให้ได้ผลตามนโยบาย 1.4 งานที่ต้องการแก้ปัญหาแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุขและพัฒนาให้งานยั่งยืน โดยมีประสิทธิผลประสิทธิภาพมากขึ้น 1.5 งานที่คาดว่าจะเกิดปัญหาในอนาคต คาดการณ์ ป้องกันปัญหาอันอาจจะเกิดได้

วัตถุประสงค์ของการตรวจราชการ 2. นิเทศงาน (Supervision) 2.1 แนะนำ Technique,วิชาการแต่ละเรื่องให้ได้ตาม ข้อ 1 2.2 เป็นตัวกลางเพื่อหาผู้รู้นอกคณะนิเทศงานมาช่วย จังหวัด,เขต เพื่อให้งานได้ตามวัตถุประสงค์ของการตรวจ ราชการในข้อ 1 2.3 การจัดการเรียนรู้ ของบุคลากรในเขต,นอกเขต เพื่อพัฒนาเป็น Knowledge Organization 2.4 ขวัญกำลังใจและ Empowerment บุคลากรเพื่อ Monitor งานและเสนอแก้ไขเชิงบริหาร

วิธีการตรวจราชการและนิเทศงาน 1. ดูการบริหารจัดการในระดับจังหวัดว่าจัดการ (Manage) อย่างไร มีระบบ Deployment ลงสู่ล่างอย่างไร, จัด organization และมี Leader power ในการจัดการอย่างไร เพื่อให้แน่ใจและวางใจได้ว่า ปลายปีงานของจังหวัดจะได้บรรลุตามเป้าหมายในข้อ 1 ของการตรวจราชการ โดยใช้แผนระดับจังหวัด และอำเภอ ครอบคลุมถึงขบวนการได้มาของแผน ทรัพยากรที่จะใช้ แผนวิธี Implementation การกำกับอย่างไร ประเมินผลอย่างไร โดยเฉพาะการกำกับเพื่อให้ได้แผนที่ดีทั้งระดับอำเภอและจังหวัด ตลอดจนวิธีการ Monitor เพื่อให้เป็นไปตามแผน

วิธีการตรวจราชการและนิเทศงาน 2. ดูตัวอย่างของ คปสอ. รวมทั้ง รพสต. ในการรับช่วงการดำเนินงานจากจังหวัด และวางแผนการบริหารงานระดับอำเภออย่างไร มีการวางเป้าหมายงานและวิธีการกำกับงาน การแก้ไขปัญหางานการประเมินผลอย่างใด ทั้งในส่วนของ รพช., รพสต และอปท.อย่างไร 3. ดูตัวอย่างจังหวัดละ 1 อำเภอ

วิธีการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1 มกราคม ถึง มีนาคม 2557 ไม่เน้นดูผลงานตามตัวชี้วัด แต่จะดูวิธีการแปลง แผนไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมได้อย่างไร รอบที่ 2 มิถุนายน ถึง กรกฎาคม 2557 เป็นการตรวจเพื่อดูความก้าวหน้าของงาน และขบวนการแก้ปัญหาโดยจะดูผลการ ดำเนินงานตามตัวชี้วัดด้วยรวมทั้งผลการ ดำเนินงานตามข้อสั่งการจากรอบที่ 1

วิธีการตรวจราชการและนิเทศงาน การตรวจราชการกรณีพิเศษ จะกำหนดเสริมในบางจังหวัดหรือบางอำเภอ โดยมี วัตถุประสงค์หลักในการติดตามกรณีใด กรณีหนึ่งหรือ หลายกรณีรวมกันดังนี้ 1. มีปัญหาไม่ก้าวหน้าของงานที่เป็นนโยบาย 2. มีปัญหาในเชิงการบริหารที่คาดว่าจะมีปัญหาในอนาคต และเพื่อการป้องกันปัญหาที่จะเกิดในอนาคต 3. ปรากฏชื่อเสียงทั้งด้านดีหรือไม่ดีต่อสาธารณชนอย่าง กว้างขวาง 4. เป็นตัวอย่างในการพัฒนาเพื่อให้เป็นต้นแบบในระดับเขต หรือระดับชาติต่อไป 5. จังหวัดร้องขอ

กำหนดการตรวจราชการฯกรณีปกติ กำหนดการการตรวจราชการและนิเทศงาน เขต จังหวัด กำหนดการตรวจราชการฯกรณีปกติ และบูรณาการ หมายเหตุ รอบที่ 1 รอบที่ 2 7 กาฬสินธุ์ 22-24 มค. 57 11-13 มิย. 57 กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความ เหมาะสม มหาสารคาม 5-7 กพ. 57 18-20 มิย. 57 ร้อยเอ็ด 19-21 กพ. 57 16 -18 กค. 57 ขอนแก่น 5-7 มีค. 57 23-25 กค. 57

กำหนดการการตรวจราชการฯ วันที่ 1 คณะตรวจราชการฯเดินทางและเข้าวิเคราะห์ข้อมูลตามหัวข้อประเด็นที่รับผิดชอบในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป วันที่ 2 เช้า เวลา 09.00-12.00 น. จังหวัดนำเสนอให้เชิญเฉพาะ บุคลากรในสสจ. และรพศ./รพท(กรรมการบริหาร), บุคลากรระดับอำเภอไม่ต้องเข้าร่วมประชุม บ่าย ตรวจเยี่ยม คปสอ และ รพสต. วันที่ 3 เวลา 08.30-09.00 น.ประชุมผู้ตรวจราชการกรม/สำนัก เตรียมสรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน เวลา 09.00-16.00 น. สรุปผลการตรวจราชการฯเชิญระดับคปสอ. อำเภอร่วมด้วยโดยเฉพาะผู้บริหาร ผอ.รพศ./รพท./ ,รพช. และ สสอ.

กำหนดการตรวจราชการฯ การลงพื้นที่ -ในฝ่ายต่างๆของ สสจ. ใน รพศ./รพท. วันที่ 1 และ บ่ายวันที่ 2 (เฉพาะผู้ตรวจราชการกรม/ผู้แทน/สำนัก ที่ยัง วิเคราะห์ข้อมูลฯไม่เสร็จ) - ใน คปสอ. ระดับอำเภอ และ รพ.สต. ทีมตรวจ ราชการฯส่วนผู้ตรวจราชการกรม/ผู้แทน/สำนัก หากเก็บ ข้อมูลเรียบร้อยแล้วให้ร่วมคณะตรวจเยี่ยมด้วย การเลือกพื้นที่ ให้จังหวัดเลือกโดยหมุนเวียนกันและเลือก พื้นที่ที่ค่อนข้างมีปัญหาหรือเลือกพื้นที่อื่นๆที่ จังหวัด เห็นว่า เหมาะสม

แนวทางการนำเสนอฯ เช้าวันที่ 2 - สสจ. นำเสนอภาพรวมของจังหวัด ตามประเด็นตัวชี้วัด รอบที่1 เอกสารตัวเลข Baseline data ตามตัวชี้วัดมาก ที่สุดตามที่มีต้องเสนอใน PowerPoint) โดยเน้นให้แสดงว่า จะสามารถทำได้ตามวัตถุประสงค์ ในรอบที่ 2 ให้เสนอผล ตัวชี้วัดและรายงานผลตามข้อสั่งการจากรอบที่ 1 - รพศ./รพท. ไม่ต้องนำเสนอผลงานตามตัวชี้วัดของ กระทรวง ให้เสนอเป็นเอกสารเท่านั้น โดยนำเสนอ ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ของโรงพยาบาล สู่เครือข่ายของจังหวัด อย่างไร้รอยต่อ Provincial Seamless Service Networks และผลงานเด่น

แนวทางการนำเสนอฯ บ่ายวันที่ 2 - คปสอ. เสนอผลการดำเนินงานภาพรวมของอำเภอ การ ขับเคลื่อนงานตามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System) เครือข่ายอำเภอ/ตำบล ไร้รอยต่อ District / Sub District Seamless Service Networks 1. การวางแผน กำกับงาน คปสอ. ในการจัดบริการร่วมอย่างไร โดยเฉพาะงานสนับสนุน รพสต และการมีส่วนร่วมของ อปท. อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ 2. การจัดทำแผนการใช้เงิน 3. คุณภาพบริการ 4. ผลงานเด่น 5. งาน Innovation ใหม่ๆ  

แนวทางการนำเสนอฯ รพ.สต. 1.นำเสนอผลการดำเนินงานในระดับตำบลลงสู่หมู่บ้าน 2.เฉพาะงาน Services บน รพสต งาน Primary Care ( CANDO ) Home visit , home health care home beds 3. ผลงานเด่นและงาน Innovation ใหม่ๆ

การรายงานผลการตรวจราชการกรณีปกติ ตามแบบรายงาน ตก 1 , ตก 2 และ ตก 3 ดังนี้ 1.รายงานผลการตรวจราชการและนิเทศงานรายจังหวัด ตามแบบรายงาน ตก 1 โดยผู้ตรวจกรม/ผู้แทน ส่งให้สำนักตรวจราชการเขตบริการสุขภาพที่ 7 ภายในวันสุดท้ายการตรวจราชการในแต่ละจังหวัด 2.รายงานผลการตรวจราชการและนิเทศงานรายเขต ตามแบบรายงาน ตก 2 โดยผู้ตรวจกรม/ผู้แทน จัดทำรายงานสรุปภาพรวมเขตบริการสุขภาพที่ 7 ในเรื่องที่รับผิดชอบ ส่งให้ประธานคณะ เพื่อจัดทำรายงานบทสรุปผู้บริหารภาพรวมคณะ(Executive summery) ส่งให้สำนักตรวจราชการเขตบริการสุขภาพที่ 7 รวบรวมภายใน 5 วันทำการ หลังเสร็จสิ้นการตรวจราชการครบทั้ง 4 จังหวัด

การรายงานผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ 3. รายงานข้อเสนอแนะ ข้อสั่งการของผู้ตรวจ ราชการกระทรวง (ตก3)ให้จังหวัดรายงานผลการ ดำเนินการตามข้อสั่งการ/เสนอแนะ ส่งให้สำนักงาน สาธารณสุขเขตบริการสุขภาพที่ 7 เพื่อเสนอให้ผู้ตรวจ ราชการกระทรวงพิจารณา ตามกำหนดดังนี้ รอบที่ 1 ภายในวันที่ 20 มีนาคม 2557 รอบที่ 2 ภายในวันที่ 25 กรกฎาคม 2557 จังหวัดดำเนินการ

การตรวจราชการแบบบูรณาการ กำหนดการในปี 2557 ออกพร้อมกับสำนักนายกรัฐมนตรี ครั้งที่ 1 ออกตรวจราชการภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 และรายงานผลตามแบบรายงาน ส่งให้ผู้รับผิดชอบงาน ตรวจราชการแบบบูรณาการ สำนักตรวจและประเมินผล ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2557 ครั้งที่ 2 ออกตรวจราชการภายในเดือนสิงหาคม 2557 และ รายงานผลตามแบบรายงาน ส่งให้ผู้รับผิดชอบงานตรวจ ราชการแบบบูรณาการ สำนักตรวจและประเมินผล ภายในวันที่ 30กันยายน 2557

ขอขอบคุณ