ไข้เลือดออก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราผลสำเร็จของการรักษาวัณโรค (TB Treatment Success rate ร้อยละ 87)
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน ตุลาคม 2556 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มกราคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สาขาโรคมะเร็ง.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไข้เลือดออก

ตัวชี้วัด : อัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๐.๑๑ ต่อปี ตัวชี้วัด : อัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๐.๑๑ ต่อปี สถานการณ์ไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 24 ปี 2556 ข้อมูล ประเทศ เขตสุขภาพที่ 7 จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวนป่วย 48,592 2,581 1,127 อัตราป่วย 75.83 51.70 81.36 จำนวนตาย 59 อัตราป่วยตาย 0.12 ร้อยเอ็ดอัตราป่วยอันดับที่ 56 ของประเทศ (จากลำดับอัตราป่วยน้อยไปมาก) ที่มา : สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค

จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกสะสม (DHF ,DF , DSS) รายเดือน ปี 2556 เปรียบเทียบปี 2555 ค่ามัธยฐาน 5 ปี และ target line จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิ.ย. 56 (รายงาน 506) จำนวน (ราย) จำนวนผู้ป่วยสะสม ม.ค – มิ.ย56 ** มากกว่า ปี 55 5.5 เท่า ** มากกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี 4.4 เท่า

พื้นที่การระบาดโรคไข้เลือดออกรายอำเภอ ปี 2556 พื้นที่การระบาดโรคไข้เลือดออกรายอำเภอ ปี 2556 เดือน มิถุนายน ( วันที่ 1 – 10 มิ.ย.56 จากรายงาน 506 ) พบผู้ป่วย 71 ราย จาก 19 อำเภอ 47 ตำบล 57 หมู่บ้าน อำเภอที่พบผู้ป่วยสูงสุด อ.โพนทอง 15 ราย อ. เมืองสรวง 12 ราย อ.เมืองร้อยเอ็ด 9 ราย

ผลการดำเนินงาน ทบทวนสถานการณ์ในพื้นที่ ปรับรูปแบบในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคให้เข้มข้นขึ้น เชิงคุณภาพ การอบรมบุคลากรทางการแพทย์ วิเคราะห์หาอำเภอที่เป็นพื้นที่เสี่ยง และกำหนดมาตรการเข้มข้น จุดเด่น การสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย CI HI และการนำมาใช้ในการเฝ้าระวัง ติดตามการป้องกันควบคุมโรค การสร้างการมีส่วนร่วมในป้องกันโรคของชุมชน โอกาส ในการพัฒนา

ผลการดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดร้อยเอ็ด

จำแนกรายโรงพยาบาลพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด อัตราความสำเร็จของการรักษาของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อ ต.ค.54 – มี.ค.2555 จำแนกรายโรงพยาบาลพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด เป้าหมาย ร้อยละ 90

จำแนกรายโรงพยาบาลพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด อัตราความสำเร็จของการรักษาของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อ ต.ค.54 – มี.ค.2555 จำแนกรายโรงพยาบาลพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด เป้าหมาย ร้อยละ 90

ข้อสังเกต 1. Treatment success rate จังหวัดร้อยเอ็ดยัง ไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจากผู้ป่วยเสียชีวิต (ร้อยละ 6.3) และขาดยา (ร้อยละ 3.0) 2. รพ.ที่ Treatment success rate ต่ำ 3 ลำดับแรกสาเหตุเนื่องจาก 2.1 รพ.หนองพอก ผู้ป่วยเสียชีวิต ร้อยละ 31.3 (5/16) 2.2 รพ.ปทุมรัตต์ ผู้ป่วยขาดยา ร้อยละ 29.4 (5/17) 2.1 รพ.เมยวดี ผู้ป่วยเสียชีวิต ร้อยละ 25.0 (1/4)

ปัญหาและข้อเสนอแนะ  อัตราการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม่ยังสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด ควรเร่งรัดสร้างระบบเครือข่ายให้มีพี่เลี้ยงดูแลการกินยาของผู้ป่วย (DOT) อัตราตายของผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม่ สูงกว่าเป้าหมาย ดังนั้นเมื่อพบผู้ป่วยสูงอายุ ควรให้ผู้ป่วยนอนพักรักษาที่โรงพยาบาลประมาณ ๒ สัปดาห์ เพื่อพยาบาลและเภสัชกร จะได้ให้คำแนะนำ เร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยเพื่อให้เข้าสู่ระบบการรักษาโดยเร็วในโรงพยาบาลที่ยังมีผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ ควรได้มีการติดตามและวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค เพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน

จุดเน้นวัณโรค