ไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๐.๑๑ ต่อปี ตัวชี้วัด : อัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๐.๑๑ ต่อปี สถานการณ์ไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 24 ปี 2556 ข้อมูล ประเทศ เขตสุขภาพที่ 7 จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวนป่วย 48,592 2,581 1,127 อัตราป่วย 75.83 51.70 81.36 จำนวนตาย 59 อัตราป่วยตาย 0.12 ร้อยเอ็ดอัตราป่วยอันดับที่ 56 ของประเทศ (จากลำดับอัตราป่วยน้อยไปมาก) ที่มา : สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค
จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกสะสม (DHF ,DF , DSS) รายเดือน ปี 2556 เปรียบเทียบปี 2555 ค่ามัธยฐาน 5 ปี และ target line จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิ.ย. 56 (รายงาน 506) จำนวน (ราย) จำนวนผู้ป่วยสะสม ม.ค – มิ.ย56 ** มากกว่า ปี 55 5.5 เท่า ** มากกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี 4.4 เท่า
พื้นที่การระบาดโรคไข้เลือดออกรายอำเภอ ปี 2556 พื้นที่การระบาดโรคไข้เลือดออกรายอำเภอ ปี 2556 เดือน มิถุนายน ( วันที่ 1 – 10 มิ.ย.56 จากรายงาน 506 ) พบผู้ป่วย 71 ราย จาก 19 อำเภอ 47 ตำบล 57 หมู่บ้าน อำเภอที่พบผู้ป่วยสูงสุด อ.โพนทอง 15 ราย อ. เมืองสรวง 12 ราย อ.เมืองร้อยเอ็ด 9 ราย
ผลการดำเนินงาน ทบทวนสถานการณ์ในพื้นที่ ปรับรูปแบบในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคให้เข้มข้นขึ้น เชิงคุณภาพ การอบรมบุคลากรทางการแพทย์ วิเคราะห์หาอำเภอที่เป็นพื้นที่เสี่ยง และกำหนดมาตรการเข้มข้น จุดเด่น การสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย CI HI และการนำมาใช้ในการเฝ้าระวัง ติดตามการป้องกันควบคุมโรค การสร้างการมีส่วนร่วมในป้องกันโรคของชุมชน โอกาส ในการพัฒนา
ผลการดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดร้อยเอ็ด
จำแนกรายโรงพยาบาลพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด อัตราความสำเร็จของการรักษาของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อ ต.ค.54 – มี.ค.2555 จำแนกรายโรงพยาบาลพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด เป้าหมาย ร้อยละ 90
จำแนกรายโรงพยาบาลพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด อัตราความสำเร็จของการรักษาของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อ ต.ค.54 – มี.ค.2555 จำแนกรายโรงพยาบาลพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด เป้าหมาย ร้อยละ 90
ข้อสังเกต 1. Treatment success rate จังหวัดร้อยเอ็ดยัง ไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจากผู้ป่วยเสียชีวิต (ร้อยละ 6.3) และขาดยา (ร้อยละ 3.0) 2. รพ.ที่ Treatment success rate ต่ำ 3 ลำดับแรกสาเหตุเนื่องจาก 2.1 รพ.หนองพอก ผู้ป่วยเสียชีวิต ร้อยละ 31.3 (5/16) 2.2 รพ.ปทุมรัตต์ ผู้ป่วยขาดยา ร้อยละ 29.4 (5/17) 2.1 รพ.เมยวดี ผู้ป่วยเสียชีวิต ร้อยละ 25.0 (1/4)
ปัญหาและข้อเสนอแนะ อัตราการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม่ยังสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด ควรเร่งรัดสร้างระบบเครือข่ายให้มีพี่เลี้ยงดูแลการกินยาของผู้ป่วย (DOT) อัตราตายของผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม่ สูงกว่าเป้าหมาย ดังนั้นเมื่อพบผู้ป่วยสูงอายุ ควรให้ผู้ป่วยนอนพักรักษาที่โรงพยาบาลประมาณ ๒ สัปดาห์ เพื่อพยาบาลและเภสัชกร จะได้ให้คำแนะนำ เร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยเพื่อให้เข้าสู่ระบบการรักษาโดยเร็วในโรงพยาบาลที่ยังมีผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ ควรได้มีการติดตามและวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค เพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน
จุดเน้นวัณโรค