ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ

พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
Electromyography (EMG) and Skeletal muscle contraction
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การวางแผนและการดำเนินงาน
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
ABC DEFG สาขาสัตว์ศาสตร์
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การจัดระบบในร่างกาย.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
System Development Lift Cycle
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
กรณีความเสี่ยง DMSc.
ขั้นตอนกระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (PLA)
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
การชักและหอบ.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เรื่องอากาศอยู่ที่ไหน
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ศัลยกรรมเสริม หน้าอก. สารบัญ  ลักษณะของถุงเต้านมเทียม  รูปทรงของถุงเต้านม  ขั้นตอนการผ่าตัดเสริมหน้าอก  การดูแลหลังการผ่าตัดเสริมหน้าอก.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
ประเภทผลงาน ประเภทนวัตกรรม ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนาชุดอุปกรณ์พร้อมใช้
กิจกรรมการคิด.
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.. วิเคราะห์ศักยภาพในการ ดูแลตนเอง.
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของ ระบบหายใจของคนได้ 2. อธิบายการแลกเปลี่ยนแก๊สของ ปอดได้ 3. อธิบายกลไกการหายใจเข้าและ ออกของแก๊สได้ 4. ทดลองวัดปริมาตรความจุของปอด ได้ 5. ตระหนักและเห็นความสำคัญของ ระบบหายใจได้ ห้องฉุกเฉิน: ปอดจ๋า 2

ขั้นสร้างความสนใจ เกิดเหตุฉุกเฉิน !!!!!!!!!! ห้องฉุกเฉิน: ปอดจ๋า 3

ขั้นสร้างความสนใจ เกิดเหตุฉุกเฉิน!!!!! คุณหมอ!!! มีคนไข้เกิดอุบัติเหตุ มีอาการหายใจติดขัดและเจ็บหน้าอกเมื่อเขาหายใจหรือเคลื่อนไหว ห้องฉุกเฉิน: ปอดจ๋า 4

ขั้นสร้างความสนใจ เกิดเหตุฉุกเฉิน!!!!!!!! ห้องฉุกเฉิน: ปอดจ๋า นี่คือฟิลม์ เอกซเรย์ที่แสดงว่ามีกระดูกซี่โครงบางส่วนทิ่มเข้าไปในปอดของผู้ป่วย 5

ตอนนี้เราต้องรู้ว่าปอดมีโครงสร้างและหน้าที่การทำงานอย่างไร ขั้นสร้างความสนใจ จากฟิล์มเอกซเรย์สามารถบอกได้ว่าปอดถูกทำลายบางส่วน เพราะฉนั้นเราต้องมีดูที่โครงสร้างของปอดผู้ป่วยเป็นหลัก ตอนนี้เราต้องรู้ว่าปอดมีโครงสร้างและหน้าที่การทำงานอย่างไร เหตุใดคนไข้จึงเกิดอาการเช่นนั้น ห้องฉุกเฉิน: ปอดจ๋า 6

เราลองพิจารณาแบบจำลองของปอดกันเลยค่ะ ขั้นสำรวจและค้นคว้า 1 เราลองพิจารณาแบบจำลองของปอดกันเลยค่ะ ห้องฉุกเฉิน: ปอดจ๋า 7

ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป1 ปอด ประกอบด้วยถุงลมขนาดเล็กจำนวนมาก ปอดของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมมีลักษณะคล้ายฟองน้ำและนุ่มซึ่งเกิดจากการรวมตัวของเนื้อเยื่อที่ทำให้ปอดมีพื้นที่ผิวภายในปอดมากกว่าพื้นที่ผิวของปอดด้านนอก ห้องฉุกเฉิน: ปอดจ๋า ชม คลิปวิดีโอ 3 มิติ เรื่องโครงสร้างของปอด หน้าที่การทำงานของปอด คือ ขนส่งก๊าซออกซิเจนจากบรรยากาศภายนอกเข้าสู่กระแสเลือด และปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากกระแสเลือดออกสู่บรรยากาศภายนอกร่างกาย ปอดมีการทำงานที่สัมพันธ์ร่วมกับกล้ามเนื้อกระบังลมและกล้ามเนื้อยึดระหว่างกระดูกซี่โครง 8

พวกคุณสังเกตเห็นอะไรบ้างจากแบบจำลองโครงสร้างของปอด ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป1 ห้องฉุกเฉิน: ปอดจ๋า พวกคุณสังเกตเห็นอะไรบ้างจากแบบจำลองโครงสร้างของปอด 9

ขั้นการสำรวจและค้นคว้า 2 การหายใจ เกิดจากการทำงานที่สัมพันธ์กันระหว่างกล้ามเนื้อยึดระหว่างกระดูกซี่โครง ความจุของปอดของเราสามารถบรรจุออกซิเจนได้เท่าไหร่ ปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อปริมาตรของปอด ฉันอยากให้พวกคุณทำกิจกรรมการทดลองเรื่องความจุปอด ห้องฉุกเฉิน: ปอดจ๋า ss2 10

ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 2 ความจุของปอด โดยปกติปอดของผู้ใหญ่จะสามารถบรรจุอากาศได้ถึง 5-6 ลิตร ปริมาตรของปอดเมื่อหายใจเข้าและหายใจออกจะมีประมาณ 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งหมายความว่าปริมาตรอากาศที่เหลืออยู่ในปอดประมาณ 2500-3000 ลูกบาศก์เซนติเมตร แสดงว่าเมื่อเราหายใจออก ปอดของเราไม่เคยแฟบเลย ห้องฉุกเฉิน: ปอดจ๋า 11

ผลของเหตุการณ์นี้มีผลต่อปริมาตรของปอดของเขาหรือไม่ ขั้นขยายความรู้ กลับมาสู่กรณีของผู้ป่วย ที่ผู้ป่วยมีอาการเจ็บเนื่องจากกระดูกซี่โครงทิ่มเข้าไปในปอด ผลของเหตุการณ์นี้มีผลต่อปริมาตรของปอดของเขาหรือไม่ มีอะไรอีกหรือไม่ ที่มีผลต่อปริมาตรของปอด ฉันอยากให้พวกคุณได้ทำกิจกรรมเรื่อง พิษภัยของบุหรี่ ห้องฉุกเฉิน: ปอดจ๋า ss3 12

ขั้นประเมิน ขอบใจทุกคนมากที่ทุกคนร่วมมือกันหาสาเหตุและร่วมกันวินิจฉัยผู้ป่วยคนนี้ค่ะ ทุกคนอย่าลืมเขียนสรุปใบวินิจฉัยโรคของผู้ป่วยคนนี้เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้มีวิธีการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกต้อง ห้องฉุกเฉิน: หัวใจล้มเหลว ss4 19

รายละเอียดสำหรับการติดต่อ: สถาบันวิทยาศาสตร์ สวก. สพฐ. kruwit.institute@gmail.com นิทรรศการเซลล์ : การสืบค้นเรื่องออสโมซิส