ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Advertisements

กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
พบประธานกรรมการประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
คอมพิวเตอร์.
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ระบบประสาท (Nervous System)
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การวางแผนและการดำเนินงาน
เฉลย หากสามารถค้นหาได้ภายในเวลา ๒๕ วินาทีนั่นแสดงว่า หากสามารถหาได้ในเวลา ๑ นาทีแสดงว่าสมองของนักเรียนพัฒนาตามปกติ
Thailand Research Expo
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
“Backward” Unit Design?
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ผลงานที่ไม่เคยเก็บตัวชี้วัด
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า.
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
บทที่ 2 Abstractions Agenda Objectives : วัตถุประสงค์ Abstractions
เรื่อง อันตรายของเสียง
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
วัตถุประสงค์ 1.นักเรียนบอกชื่อของพืชสมุนไพรได้
โรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ (Carpel Tunnel Syndrome)
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางกิจกรรมบำบัด ในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
นันท์นลิน นาคะกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เมษายน 2557
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
หลักนิเทศศาสตร์ (Principles of Communication Art) FCA1101
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
อะไรสำคัญกว่ากัน 10 June 2009.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 โอ๊ย...ปวดหัว

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว จุดประสงค์การเรียนรู้ ทดสอบการตอบสนองของอวัยวะในร่างกายได้ อธิบายโครงสร้างและการทำงานของระบบของมนุษย์ ได้ อธิบายความแตกต่างของพฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด และ พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ได้ เสนอแนะและรณรงค์เรื่องการเคารพกฎจราจร และการ ขับขี่รถบนถนนให้ปลอดภัย โดยเชื่อมโยงระบบ ประสาทได้ 2

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว Engage ภาพผู้ป่วย ภาพการเกิดอุบัติเหตุ คนล้มหัวฟาดพื้น ซึ่งเกิดขึ้นนอกห้องฉุกเฉิน ผู้ป่วยมีอาการ เดินเซทรงตัวไม่ได้ ตาพร่ามัว ปวดหัวอย่างรุนแรง เมื่อใช้ไฟฉายส่องที่ตาดำ พบว่ารูม่านตาไม่หรี่ลง 3

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว เกิดเหตุฉุกเฉิน!!! Engage กลุ่มนักศึกษาแพทย์ ผู้ป่วย ผู้ป่วยมีอาการ เดินเซทรงตัวไม่ได้ ตาพร่ามัว ปวดหัวอย่างรุนแรง เมื่อใช้ไฟฉายส่องที่ตาดำ พบว่ารูม่านตาไม่หรี่ลง พวกเราต้องช่วยกันทดสอบหาสาเหตุว่า ผู่ป่วยได้รับการกระทบกระเทือนที่ส่วนใดของอวัยวะของร่างกายแล้วคนปกติจะตอบสนองต่อไฟเมื่อถูกส่องตาอย่างไร เราไปทำการทดสอบกันดีกว่า เป็นภาพที่สถานการณ์ที่สืบเนื่องมาจาก หน้าที่ 3 และกลุ่มนักศึกษาแพทย์มาพบ และทำการสอบถามอาการพร้อมที่จะปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยจะทำการโยงเข้ากิจกรรมเร้าความสนใจ คือ ร้องเพลงทดสอบการตอบสนองของตนเอง 4

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว เราลองมาทดสอบความไวของสมองก่อนนะคะ Engage ภาพกลุ่มนักศึกษาแพทย์ หาคนจับไม้บรรทัดไว้ อย่าจับแต่ให้นิ้วโป้งอยู่ที่เลข 0 หลังจากนั้นให้คนจับปล่อยไม้ โดยที่ไม่ต้องบอกผู้ทดสอบ ผู้ทดสอบต้องรีบจับไม้ให้เร็วที่สุด ทำกิจกรรมเร้าความสนใจ คือ ร้องเพลง เจ้าดอกลั่นทม(invert) โดยทำท่าประกอบตามเพลง พร้อมทำท่าประกอบปกติและท่าที่ invert ผกผันกับท่าทางปกติ ตำแหน่งไม้บรรทัดที่จับได้จะบอกความไวของสมอง 5

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว Explore I เมื่อทำการตรวจสอบเบื้องต้นกันแล้ว ต่อไปเราจะทำการตรวจสอบระบบประสาทซึ่งเรามีอุปกรณ์ให้ดังนี้ค่ะ กลุ่มนักศึกษาแพทย์ นักเรียนเตรียมพร้อมในการที่จะทำกิจกรรมที่ 5.1 เพื่อตรวจสอบระบบประสาทซึ่งรายละเอียดอยู่ในใบกิจกรรม ss1 SS1 6

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว Explain I เมื่อตรวจสอบการรับรู้ของอวัยวะรับสัมผัสเรียบร้อยแล้ว ขณะทำการตรวจสอบ พวกเธอสามารถตอบสนองต่อวัตถุที่นำมาทดสอบได้อย่างไร มีอวัยวะส่วนใดที่เป็นศูนย์กลางการสั่งการและทำให้เกิดการตอบสนองนั้นได้ การตอบสนองต่อวัตถุของแต่ละคน เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร SS1 7

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว นี่คือ..อวัยวะรับสัมผัสที่พวกเธอได้ใช้ในการทำกิจกรรมที่ผ่านมา Explain I www.youtube.com/watch?v=Y5nj3ZfeYDQ อธิบายเรืองอวัยวะรับสัมผัส ให้ต่อเนื่องกับกิจกรรม SS1 8

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว Explain I อธิบายวงจรรีเฟล็กซ์ ซึ่งจะมีคำถามแทรกอยู่ในใบงาน ss1 เกี่ยวกับรีเฟล็กซ์ แผนภาพอธิบายการเกิดการตอบสนองนี้ เรียกว่า รีเฟลกซ์ ซึ่งจะช่วยให้ร่างกายพ้นจากอันตรายโดยที่มีศูนย์กลางการสั่งการที่ไขสันหลัง SS1 9

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว Explore II อวัยวะที่เป็นส่วนสำคัญที่ใช้ในการรับรู้และตอบสนอง ก็คือ สมอง พวกเธอรู้อะไรเกี่ยวกับสมองบ้าง? สมองมีกี่ส่วน ประกอบด้วยอะไรบ้าง? แต่ละส่วนทำหน้าที่อะไร? ใบกิจกรรม ss2 Thinking cap เป็นกิจกรรมที่เป็นการสร้างโมเดลของสมองอย่างง่ายโดยใช้หมวกแทนกะโหลกศีรษะและแบ่งพื้นที่ส่วนต่างๆของสมองให้ชัดเจน เรามาเล่นเกมส์ เพื่อหาคำตอบเหล่านี้กันเถอะ SS2 10

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว สมอง มีกี่ส่วน และแต่ละส่วนมีหน้าที่อย่างไร Explain II พวกเธอคิดว่าในสมองและไขสันหลังของเรา มีอะไรอยู่ข้างใน นักวิทยาศาสตร์มีการค้นพบมาแล้วว่า ในสมองและไขสันหลังของเรา มีสิ่งที่เรียกว่า เซลล์ประสาทอยู่ อธิบายเพิ่มเติมจากกิจกรรมจาก 5.2 โดยเชื่อมโยงกับตัวเซลล์ ภาพเซลล์ประสาท SS2 11

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว Elaborate การตอบสนองของร่างกายในขณะที่เราถูกเคาะหัวเข่า จัดเป็นพฤติกรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นพฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์ พวกเราคิดว่า มีพฤติกรรมอย่างอื่นอีกหรือไม่ เชื่อมโยงกับพฤติกรรมการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนลองยกตัวอย่างพฤติกรรมอื่นๆของพฤติกรรมทั้งสองประเภท SS3 12

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว Elaborate พวกเราคิดว่า วินัยจราจรที่รณรงค์ เรื่องของการขับขี่ปลอดภัย มีความเกี่ยวข้องกับการเรียนเรื่องระบบประสาทที่ผ่านมาอย่างไร เปิดไฟ ใส่หมวก เมาไม่ขับ กลับแท็กซี่ ง่วงนัก พักงีบ ขับไม่โทร ขั้นขยาย เป็นการนำวิดิโอคลิปทั้ง 4 สโลแกน เปิดเพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงวินัยจราจรและมีความคิดเชื่อมโยงกับระบบประสาทและการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ซึ่งนักเรียนจะได้ดูคลิปพร้อมกันทั้งห้อง SS4 13

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว Evaluate จากการตรวจอาการผู้ป่วย และศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระบบประสาท พวกเธอได้ผลการวินิจฉัยได้ว่าอย่างไร หลังจากที่พวกเธอได้ผ่านการฝึกงานในห้องฉุกเฉินมาแล้วระยะหนึ่ง และได้ศึกษาระบบร่างกายต่างๆแล้ว ฉันอยากให้พวกเธอจับกลุ่มกันเพื่อทำโปสเตอร์นำเสนอโครงสร้างและหน้าที่ของระบบร่างกาย รวมถึงการสังเกตตนเองหากเกิดความผิดปกติขึ้นกับระบบนั้นๆโดยแยกเป็นระบบต่างๆ กลุ่มละ 1 ระบบ โปสเตอร์นี้จะถูกนำเสนอในวันส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลเรา เพื่อให้บุคคลที่มารับบริการที่โรงพยาบาลได้นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ต่อไป การประเมิน เพื่อตรวจสอบผลการวินิจฉัยของนักเรียน (ผลการทำกิจกรรม) SS5 14

รายละเอียดสำหรับการติดต่อ: ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว รายละเอียดสำหรับการติดต่อ: สถาบันวิทยาศาสตร์ สวก. สพฐ. kruwit.institute@gmail.com