การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีผลเสียหายแก่ทางราชการ/ตัวบุคคล/ องค์คณะบุคคล
คณะกรรมการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ ไม่น้อยกว่า 3 คน ตรวจสอบคุณสมบัติผู้รับการประเมิน พิจารณาผลการปฏิบัติงาน ประกอบข้อมูลการลา พฤติกรรม การทำงาน ความประพฤติในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ รายงานผล เสนอความเห็นต่อผู้บังคับบัญชา
ประเมินผลการปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน เป็นหลักตามแนวทางการจัดการศึกษาที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ประเมินตามแบบประเมินที่ ก.ค.ศ.กำหนด แต่ละครั้ง(ครึ่งปีงบประมาณ) ไม่ถูกลงโทษทางวินัยที่หนัก กว่าภาคทัณฑ์ ไม่ถูกศาลพิพากษาคดีอาญาลงโทษความผิดต่อตำแหน่ง หน้าที่ราชการหรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ต่อตำแหน่งหน้าที่ ราชการ ไม่ถูกสั่งพักราชการเกินกว่า 2 เดือน
ไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร บรรจุฯไม่น้อยกว่าสี่เดือน + ลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม วิจัย ไม่ลาเกิน 6 ครั้ง / ไม่สายเกิน 8 ครั้ง ปฏิบัติราชการ 6 เดือน ลากิจ ลาป่วย (นับเฉพาะ วันทำการ) ไม่เกิน 23 วัน ถ้าจะเลื่อน 1 ขั้น + ผลงานดีเด่น/มีประสิทธิภาพประสิทธิผล/ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์/ตรากตรำเสี่ยงอันตราย เหน็ดเหนื่อย/ ภาระหนักเกินกว่าหน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานทางการศึกษาสำเร็จเป็นผลดีแก่ ประเทศชาติ กรณีลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม วิจัย ใช้เวลาราชการ เต็มเวลา พิจารณาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ.กำหนด
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ฯ หมวด 5 การเสริมสร้างประสิทธิภาพใน การปฏิบัติราชการ
มาตรา 72 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติงานของ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยยึดหลักการ ปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับการเป็นข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา และปฏิบัติราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ถือว่าผู้นั้นมี ความชอบสมควรได้รับบำเหน็จความชอบซึ่งอาจเป็นบันทึก คำชมเชย รางวัล
เครื่องเชิดชูเกียรติ หรือการเลื่อนขั้นเงินเดือน หรือการบริหารงานบุคคลในเรื่องอื่น ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด มาตรา 73 การเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ให้ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้ง
คณะกรรมการขึ้นพิจารณา โดยการพิจารณาให้ยึดหลักคุณธรรม มีความเที่ยงธรรม เปิดเผย โปร่งใส และพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานเป็นหลักและความ ประพฤติในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ ทั้งนี้ ภายใต้บังคับมาตรา 74 ฯลฯ
หลักเกณฑ์และวิธีการการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ของ ก หลักเกณฑ์และวิธีการการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ของ ก.ค.ศ. มีการกำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงาน ร่วมกันระหว่างผู้ประเมินและผู้รับการประเมิน เช่น แผนงาน โครงการ ผลงานที่กำหนดในการ มอบหมายงาน ทั้งนี้ ให้พิจารณาจากข้อตกลงผล การบริหารงาน หรือมาตรฐานภาระงานที่ได้กำหนด ไว้โดยผู้บริหารสถานศึกษา ตามมาตรา 27(4)
ประเมินแต่ละครั้ง ให้จัดลำดับผลการประเมิน ดีเด่น ยอมรับได้ ต้องปรับปรุง ให้จัดทำบัญชีรายชื่อ ดีเด่น และยอมรับได้ ประกอบการพิจารณาครั้งที่ 2
นำระบบเปิดมาใช้ มีการประกาศรายชื่อผล การประเมินดีเด่น ในที่เปิดเผยให้ทราบโดยทั่วกัน ยึดหลักคุณธรรม มีความเที่ยงธรรม เปิดเผย โปร่งใส
ฝากไว้ให้คิด สิ่งที่ทนที่สุด คือ “หน้า” สิ่งที่กล้าที่สุด คือ “ใจ” สิ่งที่ไวที่สุด คือ “ปาก” สิ่งที่มากที่สุด คือ “อารมณ์” สิ่งที่คมที่สุด คือ “คำพูด”