ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

SMART Disclosure Program
1. การบริหารจัดการข้อมูลธุรกิจ
แนวทางพัฒนาการกำหนดมาตรฐาน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.

● ส่วนที่สองบริษัทประกันชีวิตจะนำไปซื้อหน่วย
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงานอื่นของรัฐหรือหน่วยงานอื่นใดที่ดำเนินกิจการของรัฐตาม กฎหมาย และได้รับเงินอุดหนุน หรือเงิน หรือทรัพย์สินลงทุนจากรัฐ กระทรวง ทบวง.
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.)
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
องค์การสุรา กรมสรรพสามิต
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
โรงงานผลิตยางแผ่นผึ่งแห้ง/ยางแผ่นรมควันสร้างขึ้น
องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อ.ส.พ.)
องค์การสะพานปลา (อสป.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การตลาด พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496
บริษัท ไทยเดินเรือทะเล จำกัด (บทด.)
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การคลังสินค้า (อคส.)
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การจัดการน้ำเสีย (อจน.)
องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อตก.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป สำนักงานธนานุเคราะห์ (สธค.)
การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การสวนสัตว์ (อสส.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
บริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.)
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (บตท.)
สถาบันการบินพลเรือน (สบพ.)
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
การจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ การฝึกอบรมเรื่องก๊าซปิโตรเลียมเหลว การระวังและการป้องกันอันตรายของบุคลากรเฉพาะที่รับผิดชอบดูแลสถานที่ใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน.
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอรับรองกิจการบริการด้านการจัดการพลังงาน (Energy.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง คำขอรับใบอนุญาต คำขออนุญาตเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขผู้ชำนาญการหรือผู้ช่วยผู้ชำนาญการ และคำขอรับใบแทนใบอนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การทดสอบและออกหนังสือรับรองบุคลากร ส่งเสริมงานความปลอดภัย ในการทำงานเฉพาะด้าน ประกาศ 8 พฤษภาคม 2557.
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ภายใต้ความตกลงอาเซียน
ขั้นตอนการขอจัดตั้งสหกรณ์
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง ข้อบังคับว่าด้วยการจัดทำ ข้อกำหนดเกี่ยวกับการเปิดให้ใช้หรือ เชื่อมต่อ.
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ เกี่ยวกับการแจ้งการดำเนินการ การขออนุญาต และการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ.
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ โครงการอบรมหลักสูตร ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ ความเป็นมา 1. ไทยได้มีการควบคุมการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เนื่องจากในขณะนั้นมีคนต่างด้าว ประกอบธุรกิจอยู่ในประเทศเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีกฎหมายควบคุมการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว เพื่อสงวนการประกอบธุรกิจไว้สำหรับคนไทย และเพื่อรักษาดุลอำนาจทางการค้าและเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้ง เพื่อให้การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติโดยส่วนรวม จึงได้ประกาศใช้ ปว 281 (พ.ศ. 2515) เนื่องจากประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 281 เป็นกฎหมายที่ใช้บังคับมานานไม่สอดคล้องกับแนวโน้มการค้าโลก ซึ่งมีการแข่งขันกันมากขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ ดังนั้น เพื่อส่งเสริมให้มีการแข่งขันทางการค้าและสอดคล้องกับพันธกรณีตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศ รวมทั้งเป็นการปกป้องการประกอบธุรกิจของคนไทยและกำกับดูแลการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว จึงได้มีการแก้ไขกฎหมายครั้งใหญ่ โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 แทนปว 281 (พ.ศ. 2515) ซึ่งมีผลบังคับใช้มาตั้งแต่วันที่ 3 มีนาคม 2543 จุดอ่อน ปว.281 ไม่บังคับให้ธุรกิจนอกบัญชีต้องมีทุนขั้นต่ำ บัญชีธุรกิจไม่มีเหตุผลในการห้าม ขบวนการ/ขั้นตอนการอนุญาตอยู่ในดุลพินิจของอธิบดีโดยลำพัง ไม่มีกำหนดเวลาในการพิจารณา ธุรกิจที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง คนต่างด้าวถือหุ้นได้ 100 % โดยสำนักบริหารการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า หัวข้อ โครงสร้าง / หน้าที่รับผิดชอบ พรบ.ต่างด้าว ผลงาน พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว คือ กฎหมายที่ใช้กำกับดูแลคนต่างด้าวที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบหลักของกฎหมายฉบับนี้ ประกอบด้วย 1. คำจำกัดความ เช่น - คนต่างด้าว หมายถึง ใคร? / - ธุรกิจ หมายถึง อะไร ? 2. ลักษณะของการขออนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3. ประเภทธุรกิจที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถประกอบธุรกิจได้ 4. หน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมาย 5. บทกำหนดโทษ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

โครงสร้าง / หน้าที่รับผิดชอบ แบ่งเป็น 2 ส่วน 1 กลุ่ม ส่วนทะเบียนและบริการแนะนำ ส่วนเลขานุการคณะกรรมการการประกอบธุรกิจของ คนต่างด้าว กลุ่มวิชาการ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

หน้าที่รับผิดชอบโดยรวม อนุญาตและออกหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว ศึกษาวิเคราะห์แนวโน้มการประกอบธุรกิจของ คนต่างด้าวและผลดีผลเสียจากการอนุญาต งานเลขานุการของคณะกรรมการการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

คนต่างด้าว บุคคลธรรมดา ไม่มีสัญชาติไทย นิติบุคคลที่ไม่ได้จดทะเบียนในประเทศไทย นิติบุคคลที่จดทะเบียนในไทย และเข้าเกณฑ์เป็น “คนต่างด้าว” ตามกฎหมาย นิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทย ซึ่งมีบุคคลตาม 1) 2) หรือ 3) ถือหุ้นหรือลงทุนตั้งแต่ 50 % ขึ้นไป ม. 4 คำนิยาม “คนต่างด้าว” คำนิยามของคนต่างด้าวตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ส่วนมากจะเหมือนกับคำนิยามตาม ปว.281 แตกต่างกันที่จำนวนผู้ถือหุ้นที่เป็นคนต่างด้าวจะไม่นำมาพิจารณาอีก รวมทั้งไม่มีข้อยกเว้นเกี่ยวกับการที่คนต่างด้าวจะไปถือหุ้นในธุรกิจอื่น ๆ อีก บริษัทจำกัดที่ออกใบหุ้นชนิดที่ออกให้แก่ผู้ถือ >>> ถือเป็นหุ้นที่ออกให้คนต่างด้าว

ธุรกิจตามบัญชีท้าย พ.ร.บ ต่างด้าว บัญชี หนึ่ง บัญชี สอง บัญชี สาม กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

บัญชี หนึ่ง 9 ข้อ 16 รายการธุรกิจ บัญชี หนึ่ง 9 ข้อ 16 รายการธุรกิจ ไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวประกอบกิจการ ด้วยเหตุผลพิเศษ ธุรกิจตามบัญชี 1 ห้ามคนต่างด้าวประกอบและไม่สามารถขออนุญาตได้ มี 9 ข้อ 16 รายการธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

บัญชี สอง 3 หมวด 21 รายการธุรกิจ บัญชี สอง 3 หมวด 21 รายการธุรกิจ ธุรกิจที่เกี่ยวกับ ความปลอดภัยหรือความมั่นคงของประเทศ มีผลกระทบต่อศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และหัตถกรรมพื้นบ้าน มีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม บัญชีสอง เป็นธุรกิจเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือความมั่นคงของประเทศหรือมีผลกระทบต่อศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เช่น การผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ การเลี้ยงไหม การทำเหมือง คนต่างด้าวจะประกอบธุรกิจได้ต้องรับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ โดยการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี มาตรา 8 ภายใต้บังคับมาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 10 และมาตรา 12 (2) ห้ามมิให้คนต่างด้าวประกอบธุรกิจที่เกี่ยวกับความปลอดภัยหรือความมั่นคงของประเทศ ธุรกิจที่มีผลกระทบต่อศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และหัตถกรรมพื้นบ้าน หรือธุรกิจที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม ตามที่กำหนดไว้ในบัญชีสอง เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีโดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรี ได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรี โดยการอนุมัติของครม กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

บัญชี สาม 21 รายการธุรกิจ บัญชี สาม 21 รายการธุรกิจ ธุรกิจที่คนไทยยังไม่มีความพร้อมที่จะแข่งขัน ได้รับอนุญาตจากอธิบดี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการต่างด้าว บัญชีสาม เป็นธุรกิจที่คนไทยยังไม่มีความพร้อมที่จะแข่งขันในการประกอบธุรกิจกับคนต่างด้าว เช่น การทำกิจการโรงแรม คนต่างด้าวจะประกอบธุรกิจได้ต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว มาตรา 8 ภายใต้บังคับมาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 10 และมาตรา 12 (3) ห้ามมิให้คนต่างด้าวประกอบธุรกิจที่คนไทยยังไม่มีความพร้อมที่จะแข่งขันในการประกอบกิจการกับคนต่างด้าว ตามที่กำหนดไว้ในบัญชีสาม เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากอธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

การขอใบอนุญาต มาตรา 17 ธุรกิจภายใต้บัญชีท้าย พ.ร.บ.ฯ อธิบดีอนุญาต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการฯ วางกรอบในการพิจารณาอนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามาประกอบ ธุรกิจที่สงวนไว้อย่างชัดเจน มาตรา 5 การอนุญาตให้คนต่างด้าวประกอบธุรกิจตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พิจารณาโดยคำนึงถึงผลดีและผลเสียต่อความปลอดภัยและความมั่นคงของประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ศิลปวัฒนธรรมและจารีตประเพณีของประเทศ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การพลังงานและการรักษาสิ่งแวดล้อม การคุ้มครองผู้บริโภค ขนาดของกิจการ การจ้างแรงงาน การถ่ายทอดเทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา (ข้อยกเว้น -> ไม่ใช้บังคับกับ “คนต่างด้าว”ตาม ม. 10)

อธิบดีออกหนังสือรับรอง การขอหนังสือรับรอง มาตรา 11 - สนธิสัญญาไทย-อเมริกัน - FTA ไทย- ออสเตรเลีย - หุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น อธิบดีออกหนังสือรับรอง สนธิสัญญาไทย – อเมริกัน (ธุรกิจที่ห้าม) การคมนาคม การขนส่ง การทำหน้าที่รับดูแลทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น การธนาคารที่เกี่ยวกับการทำหน้าที่รับฝากเงิน การแสวงหาประโยชน์จากที่ดินหรือทรัพยากรธรรมชาติอื่น การค้าภายในเกี่ยวกับผลิตผลทางเกษตรพื้นเมือง ผู้มีสิทธิแจ้งขอรับความคุ้มครอง ไทย- อเมริกัน บุคคลธรรมดาสัญชาติอเมริกัน นิติบุคคลอเมริกัน จัดตั้งตามกฎหมายไทยหรือสหรัฐอเมริกา จำนวนหุ้นข้างมากเป็นของบุคคลสัญชาติอเมริกัน กรรมการมากกว่าครึ่งหนึ่งต้องเป็นอเมริกันและ/หรือคนไทย กรรมการผู้มีอำนาจต้องไม่ใช่คนชาติที่ 3 กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ธุรกิจนอกบัญชี (1),(2),(3) ไม่ต้องขออนุญาต สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค เป็นบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ให้บริการแก่วิสาหกิจในเครือ หรือสาขา ทั้งที่อยู่ในประเทศไทยหรือในต่างประเทศ ให้บริการเกี่ยวกับ ด้านการบริหาร ด้านเทคนิค บริการสนับสนุนในเรื่องต่างๆ เช่น - บริหารงานทั่วไป การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ - การให้คำปรึกษาด้านการเงิน การวิเคราะห์และวิจัย ด้านเศรษฐกิจและการลงทุน ฯลฯ   มีธุรกิจอีกหลายประเภทที่ไม่ได้อยู่ภายใต้การควบคุมของกฎหมายฉบับนี้ ซึ่งได้แก่ธุรกิจที่ไม่ได้ถูกกำหนดไว้ในบัญชีหนึ่ง บัญชีสอง และบัญชีสาม เช่น ธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งธุรกิจส่งออก ซึ่งคนต่างด้าวสามารถประกอบธุรกิจได้โดยไม่ต้องขออนุญาต และแม้ว่าเป็นธุรกิจในบัญชีหนึ่ง บัญชีสองและบัญชีสามก็ตาม หากคนต่างด้าวถือหุ้นไม่ถึงร้อยละ 50 ของทุนทั้งหมด คนต่างด้าวก็สามารถเข้ามาประกอบธุรกิจได้โดยไม่ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายฉบับนี้เช่นเดียวกัน กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

สรุป คนต่างด้าว ประกอบธุรกิจได้ ธุรกิจภายใต้พ.ร.บ ธุรกิจไม่อยู่ บัญชี 1 บัญชี 2 บัญชี 3 ห้ามประกอบธุรกิจ ต้องได้รับอนุญาต จากรมต โดยการอนุมัติของครม ต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีฯ โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการต่างด้าว ประกอบธุรกิจได้ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า หัวข้อ โครงสร้าง / หน้าที่รับผิดชอบ พรบ.ต่างด้าว ผลงาน พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว คือ กฎหมายที่ใช้กำกับดูแลคนต่างด้าวที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบหลักของกฎหมายฉบับนี้ ประกอบด้วย 1. คำจำกัดความ เช่น - คนต่างด้าว หมายถึง ใคร? / - ธุรกิจ หมายถึง อะไร ? 2. ลักษณะของการขออนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3. ประเภทธุรกิจที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถประกอบธุรกิจได้ 4. หน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมาย 5. บทกำหนดโทษ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

แนวทางในการพิจารณาอนุญาต ตาม พรบ.ต่างด้าว สำนักงานผู้แทน สำนักงานภูมิภาค การให้บริการหรือประกอบธุรกิจอื่น กับ ภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ การให้บริการ กับ บริษัทในเครือหรือในกลุ่ม การให้บริการติดตั้ง ซ่อมแซม และบำรุงรักษา การบริการให้เช่า การบริการให้เช่าแบบลีสซิ่ง การบริการให้เช่าซื้อ การบริการแฟ็กเตอริง การบริการรับจ้างผลิต การให้บริการหรือประกอบธุรกิจอื่นโดยเป็นคู่สัญญากับภาคเอกชน การค้าส่ง พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว คือ กฎหมายที่ใช้กำกับดูแลคนต่างด้าวที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบหลักของกฎหมายฉบับนี้ ประกอบด้วย 1. คำจำกัดความ เช่น - คนต่างด้าว หมายถึง ใคร? / - ธุรกิจ หมายถึง อะไร ? 2. ลักษณะของการขออนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3. ประเภทธุรกิจที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถประกอบธุรกิจได้ 4. หน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมาย 5. บทกำหนดโทษ

การอนุญาตและการออกหนังสือรับรอง ธุรกิจบัญชีท้าย อนุญาต หนังสือรับรอง รวม เลิก/ถอน คงอยู่ ส่งเสริม การลงทุน สนธิสัญญา บัญชีสอง ม.ค.- ต.ค. 53 - 3 ม.ค. - ธ.ค. 52 4 มี.ค. 43 - ต.ค. 53 30 7 37 1 36 บัญชีสาม ม.ค. – ต.ค. 53 216 190 79 485 80(2) 405 213 169 91 473 156(2) 317 มี.ค. 43 – ต.ค. 53 2,585 1,206 1,004 4,795 864 3,931 (บัญชีสอง+สาม) 1,236 1,011 4,832 865 3,967 741 42 82 1,844 1,194 929 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว คือ กฎหมายที่ใช้กำกับดูแลคนต่างด้าวที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบหลักของกฎหมายฉบับนี้ ประกอบด้วย 1. คำจำกัดความ เช่น - คนต่างด้าว หมายถึง ใคร? / - ธุรกิจ หมายถึง อะไร ? 2. ลักษณะของการขออนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3. ประเภทธุรกิจที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถประกอบธุรกิจได้ 4. หน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมาย 5. บทกำหนดโทษ

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า การอนุญาต แยกตามประเทศที่เข้ามาลงทุน วันที่ 3 มีนาคม 2543 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2553 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว คือ กฎหมายที่ใช้กำกับดูแลคนต่างด้าวที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบหลักของกฎหมายฉบับนี้ ประกอบด้วย 1. คำจำกัดความ เช่น - คนต่างด้าว หมายถึง ใคร? / - ธุรกิจ หมายถึง อะไร ? 2. ลักษณะของการขออนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3. ประเภทธุรกิจที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถประกอบธุรกิจได้ 4. หน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมาย 5. บทกำหนดโทษ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว For More Information www.dbd.go.th บริการกรม การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว กรมพัฒนาธุรกิจการค้า