กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัตถุประสงค์โครงการ 3.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายโดยการอบรมให้ความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพจิตในครอบครัวและในชุมชน 3.2 พัฒนาตัวอย่างการดำเนินงานสุขภาพจิตในครอบครัวและชุมชนนำไปสู่ชนชนเข้มแข็ง.
Advertisements

สื่อเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากโฆษณา
สรุปผลการดำเนินงานของ ชุมชนสัมพันธ์และศิษย์เก่า สัมพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในช่วง 1 มิ. ย พ. ค.55.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
“สร้างห้องสมุดเพื่อน้อง”
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
สงขลา , ตรัง , พัทลุง , ยะลา , ปัตตานี , สตูล
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี )
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคและ การพัฒนาเครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชน
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
กลุ่มที่ 1 Blueprint for Change.
วันอนุรักษ์และพัฒนา แม่น้ำ คู คลอง แห่งชาติ (20 กันยายน 2549) ณ วัดบางซ้ายใน อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เวลา น
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคธุรกิจเอกชน
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การสื่อสารองค์กรกรมอนามัย
กรอบความคิดของ กลุ่ม 7 งานตามพันธกิจกรมอนามัย. Health Index สร้าง Health Agenda : ในชีวิตประจำวัน ( ถูก / ไม่ถูก, เกิดแล้ว / ยังไม่เกิด, จวนจะเกิด / กำลังจะเกิด.
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
กิจกรรมอำนวยความปลอดภัยขณะก่อสร้าง
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
๑๑. คุณพิจิตราฤทธิ์ ประภา ๑๒. คุณพดาลิมปสายชล ๑๓. คุณศิริชัยพุทธศิริ ๑๔. คุณอัครวุฒิศุภ อักษร ๑๕. คุณจันทิราโกมล ๑๖. คุณพนารัตน์ตัณฑ์ ไพบูลย์ ๑๗. คุณสมพรน้อยฉ่ำ.
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การจัดงานรณรงค์ วันสุขบัญญัติแห่งชาติ ปฏิบัติสุขบัญญัติเป็นนิสัย สุขภาพกายใจแข็งแรง 28 - 29 พฤษภาคม 2551 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

หลักการและเหตุผล เนื่องในวันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันสุขบัญญัติแห่งชาติ จึงจัดการรณรงค์ โดยเริ่มต้นในการเริ่มปลูกฝังพฤติกรรมที่ พึงประสงค์ตามสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการในกลุ่มเด็กและเยาวชนเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก เพื่อช่วยให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความจำเป็นในการปฏิบัติตามสุขบัญญัติ อันจะเป็นผลต่อสุขภาวะของเยาวชนในอนาคต ตลอดจนเป็นการ ลดพฤติกรรมและปัจจัยเสี่ยงที่อาจจะทำให้เกิดโรคอันเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศ อันเป็นการเตรียมการสำหรับอนาคตของประเทศ

วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดกระแสการรับรู้ เรื่องสุขบัญญัติแห่งชาติ เพื่อส่งเสริมการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตาม สุขบัญญัติแห่งชาติ ให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ปฏิบัติ จนเป็นสุขนิสัย เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพในการรณรงค์ สุขบัญญัติแห่งชาติ

ปฏิบัติสุขบัญญัติเป็นนิสัย สุขภาพกายใจแข็งแรง รูปแบบงาน กิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมสาระบันเทิง ประเด็น ( theme ) สุขบัญญัติแห่งชาติ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของคนไทย คำขวัญ ปฏิบัติสุขบัญญัติเป็นนิสัย สุขภาพกายใจแข็งแรง

กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมายหลัก เด็กและเยาวชน กลุ่มเป้าหมายรอง เครือข่ายสุขภาพและประชาชน ระยะเวลาดำเนินงาน พฤษภาคม- มิถุนายน 2551

กิจกรรมดำเนินการ : ก่อนวันงานรณรงค์ 1. ประชาสัมพันธ์/เผยแพร่ความรู้ ผ่าน * สื่อมวลชน * tie in program TV ช่อง 3 หรือ 7 ประมาณ 5 ครั้ง * ตัวอักษรวิ่งในรายการ TV ไม่ต่ำกว่า 1 รายการ * สถานีวิทยุกระจายเสียงกระทรวงสาธารณสุข * ลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ไม่น้อยกว่า 2 ฉบับ / 5 ครั้ง * สื่อสุขศึกษา เช่น คู่มือ แนวทาง โปสเตอร์ แผ่นพับ วีซีดี ชุดนิทรรศการ * สารจากอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ถึง อสม. ให้ อสม. เป็นต้นแบบสุขบัญญัติและร่วมรณรงค์

กิจกรรมดำเนินการ : ก่อนวันงานรณรงค์ (ต่อ) 2. ส่งเสริมการดำเนินงานสุขบัญญัติ * คัดเลือกโรงเรียน/ เด็ก เยาวชนสุขบัญญัติ เพื่อมอบโล่เชิดชูเกียรติจากรัฐมนตรีว่าการฯ * ประสานภาคีเครือข่ายสุขภาพระดับจังหวัด ร่วมดำเนินการรณรงค์สุขบัญญัติแห่งชาติ * ประสานสถานศึกษาร่วมดำเนินการรณรงค์ และเข้าร่วมกิจกรรมในวันงานรณรงค์

กิจกรรมดำเนินการ : ก่อนวันงานรณรงค์ (ต่อ) 3. จัดทำคำปราศรัย ของรัฐมนตรีว่าการฯ 4. จัดทำหนังสือ ประสานความร่วมมือ สสจ. ดำเนินการรณรงค์สุขบัญญัติในพื้นที่

กิจกรรมดำเนินการ : วันงานรณรงค์สุขบัญญัติ จัดงานรณรงค์สุขบัญญัติแห่งชาติ วันที่ 28-29 พ.ค. 51 ณ บริเวณลานหน้าห้างโตคิว มาบุญครอง 1. รัฐมนตรีว่าการฯ เป็นประธาน * พิธีเปิดงานรณรงค์ วันที่ 28 พ.ค. 51 * แถลงข่าวต่อสื่อมวลชน * มอบโล่เชิดชูเกียรติแก่โรงเรียน/เด็ก เยาวชน ส่งเสริมสุขบัญญัติดีเด่น * เปิดนิทรรศการและซุ้มกิจกรรมสุขบัญญัติ10 ประการ

กิจกรรมดำเนินการ : วันงานรณรงค์สุขบัญญัติ (ต่อ) 2. จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมการเรียนรู้ สุขบัญญัติ 10 ประการ 3. จัดกิจกรรมบนเวที ( สัมมนาสุขบัญญัติ การประกวด การแสดง และกิจกรรมสาระบันเทิง )

กิจกรรมดำเนินการ : หลังวันรณรงค์สุขบัญญัติ 1. จัดกิจกรรมรณรงค์ (road show) ในสถานศึกษา หรือชุมชน ร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษาและ สสจ. ในสัปดาห์แรก มิ.ย 51 * จังหวัดนครปฐม * จังหวัดราชบุรี 2. จัดหน่วยเคลื่อนที่สุขบัญญัติ จัดกิจกรรมในโรงเรียน เขต กทม.

กิจกรรมดำเนินการ : หลังวันรณรงค์สุขบัญญัติ (ต่อ) 3. ลงนามพันธสัญญา กับผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ในการดำเนินการรณรงค์สุขบัญญัติแห่งชาติร่วมกัน 4. เวทีสัมมนาเครือข่ายการศึกษา 178 เขตพื้นที่ 5. รายการสุขบัญญัติ “เด็ก เด็ด เด็ด” ทางสถานีวิทยุกระจายเสียง

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สวัสดี กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ