โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Center of Mass and Center of gravity
Advertisements

การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
พื้นที่ผิวและปริมาตร
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
บทที่ 4 ระบบทางทัศนศาสตร์พื้นฐาน
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
Points, Lines and Planes
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ระบบอนุภาค.
Quadratic Functions and Models
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
เลนส์.
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เลนส์นูน.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
วงรี ( Ellipse).
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
การหักเหของแสง (Refraction)
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ทรงกลม.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม เลนส์และการเกิดภาพ โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม

เลนส์คืออะไร เลนส์ คือ ตัวกลางโปร่งใสที่มีผิวหน้าเป็นผิว โค้ง ผิวโค้งของเลนส์อาจจะมีรูปร่างเป็นพื้นผิว โค้งทรงกลม ทรงกระบอก หรือ พาราโบลาก็ได้ เลนส์แบบง่ายสุดเป็นเลนส์บางที่มีผิวโค้งทรง กลม ส่วนใหญ่ทำมาจากแก้วหรือพลาสติก แบ่ง ออกเป็น 2 ชนิด คือ เลนส์นูน ( Convex lens ) เลนส์เว้า ( Concave lens )

เลนส์นูน คือ เลนส์ที่มีตรงกลางหนากว่าตรงขอบเสมอ เมื่อผ่านลำแสงขนานเข้าหาเลนส์จะทำให้รังสีพุ่งเข้าหากัน และไปตัดกันจริงที่จุดโฟกัสจริง(Real focus )

เลนส์นูนสองด้าน. ( Double Convex Lens) เลนส์นูนสองด้าน ( Double Convex Lens)  ดังรูป a เลนส์นูนแกมระนาบ ( Plano Convex Lens)  ดังรูป b เลนส์นูนแกมเว้า ( Concavo Convex Lens) ดังรูป c

เลนส์เว้า คือ เลนส์ที่มีตรงกลางบางกว่าตรงขอบเสมอ เมื่อผ่านลำแสงขนานเข้าหาเลนส์จะทำให้รังสีถ่างออกจากกันและ ถ้าต่อแนวรังสี จะพบว่ารังสีจะไปตัดกันที่จุดโฟกัสเสมือน (Virtual focus)

เลนส์เว้า 2 ด้าน ( Double Concave Lens ) ดังรูป a เลนส์เว้าแกมระนาบ ( Plano Concave Lens) ดังรูป b เลนส์เว้าแกมนูน ( Convexo Concave Lens ) ดังรูป c

ส่วนประกอบสำคัญของเลนส์ เลนส์นูน เลนส์เว้า

ส่วนประกอบสำคัญของเลนส์ เลนส์นูน เลนส์เว้า

ส่วนประกอบสำคัญของเลนส์ 1. แนวรังสีของแสง คือ แนวทิศทางของแสงที่ส่องเข้า มายังเลนส์ 2. แกนมุขสำคัญ ( Principal Axis ) คือเส้นตรงที่ลาก ผ่านกึ่งกลางของเลนส์และจุดศูนย์กลางความโค้งของผิว เลนส์ 3. จุดโฟกัสของเลนส์นูน ( Principal Focus ) หรือจุด F คือ จุดที่รังสีขนานของแสงไปรวมกัน

4. จุดใจกลางเลนส์ (Optical center) หรือจุด O 5 4. จุดใจกลางเลนส์ (Optical center) หรือจุด O 5. จุดศูนย์กลางความโค้งของผิวเลนส์ (Center of curvature) หรือจุด C 6. รัศมีความโค้ง (Radius of curvature) หรือ R คือ ความยาวตั้งแต่จุด O ถึงจุด C 7. ความยาวโฟกัส (Focal length) จะยาวเป็น ครึ่งหนึ่งของรัศมีความโค้ง

การเขียนทางเดินแสงผ่านเลนส์ วิธีเขียนทางเดินแสงเพื่อหาตำแหน่งภาพของวัตถุ ของเลนส์ทั้งสอง มีขั้นตอนดังนี้ 1.จากวัตถุลากรังสีขนานกับแกนมุขสำคัญ ตก กระทบกับเลนส์ แล้วหักเหผ่านจุด F 2.จากวัตถุลากรังสีผ่านจุด O แล้วต่อรังสีให้ตัดกับ รังสีในขั้นตอนแรกตำแหน่งที่รังสีตัดกัน คือ ตำแหน่งภาพ การเขียนทางเดินแสงผ่านเลนส์

ภาพที่เกิด จากการวางวัตถุ ณ ตำแหน่งต่างๆ 1. ถ้าวัตถุอยู่ที่ตำแหน่งที่ไกลมากหรือระยะอนันต์ จะได้ภาพจริงมีขนาดเป็นจุดอยู่ที่จุดโฟกัส

2. ถ้าวัตถุอยู่ห่างมากกว่าจุดศูนย์กลางความโค้ง แต่ไม่ถึงระยะอนันต์ จะเกิดภาพจริงหัวกลับ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ อยู่ระหว่างจุด F และ C ซึ่งอยู่คนละด้านกับวัตถุ

3. ถ้าวัตถุอยู่ที่จุด C จะเกิดภาพจริงหัวกลับที่ตำแหน่ง C ขนาดเท่ากับวัตถุ และอยู่คนละด้านกับวัตถุ

4.ถ้าวัตถุอยู่ระหว่างจุด C และจุด F จะเกิดภาพจริงหัวกลับ ขนาดขยายอยู่นอกจุด ซึ่งอยู่คนละด้านกับวัตถุ

5. ถ้าวัตถุอยู่ที่จุด F จะทำให้เกิดภาพที่ระยะอนันต์ เพราะรังสีแสงที่ออกมาจะเป็นรังสีแสงขนาน

6. ถ้าวัตถุอยู่ระหว่างจุด F กับจุด O จะพบว่ารังสีที่ผ่านเลนส์มีการเบนออก และเมื่อเราต่อแนวรังสีที่หักเหผ่านเลนส์ จะพบว่าเกิดภาพเสมือนขนาดขยาย หัวตั้งอยู่ด้านเดียวกับวัตถุ

ข้อควรจำ !!! 1. เลนส์นูน ให้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน และมีขนาดใหญ่หรือเล็กกว่าวัตถุขึ้นอยู่ระยะของวัตถุ 2. เลนส์เว้า ให้ภาพเสมือน หัวตั้ง และมีขนาดเล็กกว่า วัตถุเสมอ *** สำหรับเลนส์ ถ้าภาพนั้นมีตำแหน่งอยู่คนละด้านกับวัตถุ ก็ถือว่าเป็นภาพจริง แต่ถ้าภาพนั้นมีตำแหน่งอยู่ด้านเดียวกับวัตถุ ก็ให้ถือว่าเป็นภาพเสมือน***

4. ภาพจากเลนส์นูน จะมีทั้งภาพจริงและภาพเสมือน. 5 4. ภาพจากเลนส์นูน จะมีทั้งภาพจริงและภาพเสมือน 5. ภาพจากเลนส์เว้า มีแต่ภาพเสมือนขนาดเล็กกว่า วัตถุ

สรุปภาพที่เกิดจากเลนส์นูน

สรุปภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า

เปรียบเทียบเลนส์นูนและเลนส์เว้า

สูตรที่ใช้ในการคำนวณเลนส์ สูตรหาตำแหน่งภาพ = + f = ความยาวโฟกัส เลนส์นูนเป็น + เลนส์เว้าเป็น - s = ระยะวัตถุ วัตถุอยู่หน้าเลนส์ระยะวัตถุเป็น + วัตถุอยู่หลังเลนส์ระยะวัตถุเป็น - s’ = ระยะภาพ ภาพอยู่หลังเลนส์ (ภาพจริง) เป็น + ภาพอยู่หน้าเลนส์ (ภาพเสมือน)เป็น -

สูตรกำลังขยาย m = = m คือ กำลังขยายของกระจกโค้ง ภาพจริงใช้เครื่องหมาย + และภาพเสมือนใช้เครื่องหมาย – I คือ ความสูงของภาพ ภาพจริงใช้เครื่องหมาย + O คือ ความสูงของวัตถุ จะมีเครื่องหมาย “+” เสมอ

ประโยชน์ของเลนส์ เลนส์นูนใช้ทำแว่นขยาย แว่นสายตายาว เป็นส่วนประกอบกล้องถ่ายรูป กล้องจุลทรรศน์ กล้องส่องทางไกล 2. เลนส์เว้าใช้ทำแว่นสายตาสั้น กล้องโทรทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์