พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Service Plan สาขา NCD.
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
กำหนดงานพัฒนาคุณภาพที่จะสร้างระบบช่วยกันในเครือข่าย
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
โครงการโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ ขยายเครือข่ายสู่ชุมชน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การวางแผนยุทธศาสตร์.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล งานพัฒนาคุณภาพบริการ กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพบุคลากรและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา 12 ธันวาคม 2556

ที่มา 1. (ร่าง) ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 – 2560 (เฉพาะ Strategic Focus) ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ 2. ยุทธศาสตร์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงบริการ ภายใต้การจัดการทรัพยากรที่ดี

เป้าหมาย บริการของโรงพยาบาลได้รับการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสาธารณสุข ระบบบริการพยาบาลได้รับการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานของสำนักการพยาบาลและสภาการพยาบาล ห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนาคุณภาพ ลดความแออัด และเวลารอคอย ในโรงพยาบาล ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ

กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. โรงพยาบาล โรงพยาบาลมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ยกระดับการพัฒนาคุณภาพได้ และได้รับการต่ออายุการรับรองตามกำหนด 1. พัฒนา และเตรียมความพร้อมโรงพยาบาลเพื่อรับการประเมินรับรองคุณภาพโรงพยาบาล และต่ออายุการรับรอง (Re-accreditaition) 1. รพ.ขั้น 2 - สรุปผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตาม self recommendation ใช้เครื่องมือ SPA in Action และ สรุปผลลัพธ์การพัฒนา ตาม SPA in Action ตอนที่ I-6, II-1, II-4, II-6 และ III-(1-6) ในการต่อธำรงขั้น 2 พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล เพื่อเข้าสู่กระบวนการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation)

วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. โรงพยาบาล กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล (ต่อ) วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. โรงพยาบาล 2. วัดเวทีให้รพ.ขั้น 2 นำเสนอผลงาน เพื่อ ธำรงขั้น 2 3. ร่วมกับสรพ.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมในการต่ออายุการรับรอง 3. จัดอบรมฟื้นฟูเรื่องการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลสู่การต่ออายุรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 2. รพ. ขั้น 3 พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามข้อเสนอแนะของผู้เยี่ยมสำรวจ ปรับ Service Profile และ Self Assessment (SA 2001) ส่งเอกสารเพื่อขอต่ออายุการรับรอง ตามกำหนด (ก่อนวันหมดอายุ 6 เดือน) 3. ลดระยะเวลารอคอย 4. ประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการ

วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. โรงพยาบาล กลวิธี : พัฒนาคุณภาพระบบงานสำคัญ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. โรงพยาบาล พัฒนาคุณภาพระบบบริการพยาบาล จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการประเมินคุณภาพบริการพยาบาล นิเทศงานพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลในรพช. พัฒนาคุณภาพระบบริการพยาบาลตามมาตรฐาน

กลวิธี : พัฒนาคุณภาพระบบงานสำคัญ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. โรงพยาบาล พัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการ จัดประชุมเครือข่ายพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการ จัดการตรวจประเมินภายในคุณภาพห้องปฏิบัติการ รพช. (IS) พัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ตามมาตรฐาน LA เตรียมเอกสารเพื่อเข้าสู่กระบวนการรับรอง LA

กลวิธี : พัฒนาคุณภาพระบบงานสำคัญ (ต่อ) วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. โรงพยาบาล พัฒนาคุณภาพงานรังสีวินิจฉัย จัดประชุมเครือข่ายพัฒนาคุณภาพงานรังสีวินิจฉัย จัดการตรวจประเมินคุณภาพงานรังสีวินิจฉัย พัฒนาคุณภาพงานรังสีวินิจฉัย ตามแนวทางพัฒนาคุณภาพงานรังสีวินิจฉัย กระทรวงสาธารณสุข เตรียมความพร้อมรับการประเมิน

กลวิธี : พัฒนาคุณภาพระบบงานสำคัญ (ต่อ) วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. โรงพยาบาล พัฒนาคุณภาพงานกายภาพบำบัด จัดประชุมเครือข่ายพัฒนาคุณภาพงานกายภาพบำบัด พัฒนาคุณภาพงานกายภาพบำบัดตามมาตรฐานงานกายภาพบำบัด ผลลัพธ์ โรงพยาบาลมีผลงานพัฒนาคุณภาพในโรงพยาบาล อย่างน้อย ๕ เรื่องต่อปี โรงพยาบาลขั้น ๒ เข้าสู่กระบวนการประเมินรับรองคุณภาพโรงพยาบาล โรงพยาบาลที่ครบอายุการรับรองเข้าสู่กระบวนการต่ออายุการรับรองตามกำหนด ระบบบริการพยาบาล ห้องปฏิบัติการ และรังสีวินิจฉัย ได้รับการรับรองมาตรฐาน