โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) Workshop 12 จัดทำแผนปรับปรุง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับโครงงานอิเล็กทรอนิกส์
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความหมายของการวางแผน
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การบริหารกลุ่มและทีม
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
หัวข้อ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและตลาด
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการควบคุมภายใน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
หลักการเขียนโครงการ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) Workshop 12 จัดทำแผนปรับปรุง :

กำหนดการ 6 กันยายน 2549 0900 – 0930 บรรยายกระบวนการจัดทำแผนปรับปรุง 0900 – 0930 บรรยายกระบวนการจัดทำแผนปรับปรุง 0930 – 1200 workshop จัดทำแผนปรับปรุงที่เลือกเป็นตัวอย่าง 1300 – 1700 นำเสนอแผนปรับปรุง

ภาพรวม Vital Few 1. ระบบการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับบริการ 14. คัดเลือกและปรับปรุงกระบวนการสร้างคุณค่าและสนับสนุนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 3. ระบบรับฟังความคิดเห็นผู้รับบริการ 5. ระบบการนำความคิดเห็นของผู้รับบริการไปปฏิบัติ 4. มาตรฐานการปฏิบัติงานชัดเจน 7. สำรวจความคิดเห็นด้านจริยธรรมกับผู้รับบริการทั้งภายในและภายนอก 9. ระบบการทบทวนผลการดำเนินงานเพื่อการเรียนรู้และปรับปรุงงาน 2. กระบวนการสื่อสารภายใน 11. ทบทวนการจัดวางทิศทางองค์กรและกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ 15. ประเมินผลและปรับปรุงระบบการกำกับดูแลตนเอง 8. ระบบติดตามข้อมูลพร้อมใช้งานและทันสมัย 13. การประเมินผลการจัดการความรู้ 12. แผนทรัพยากรบุคคลตอบสนองต่อเป้าประสงค์และยุทธศาสตร์ขององค์กร 16. กำหนดแนวทางและหลักเกณฑ์ในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ 10. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร เป็นงานต่อเนื่องกัน มีความสัมพันธ์กัน 6. สำรวจ/วิเคราะห์/ประมวลผลความต้องการของบุคลากร ภาพรวม Vital Few

การจัดทำแผนการปรับปรุง แผนการปรับปรุงที่ได้จาก Workshop อาจมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะของ Vital Few แผนที่ค่อนข้างสมบูรณ์ (Completed Plan) - มีรายละเอียดขั้นตอนกิจกรรมและผู้รับผิดชอบ แผนสำหรับการวางแผน (Plan for Plan) - ทีมที่รับผิดชอบโครงการจะต้องกำหนดรายละเอียดของ แผนในภายหลัง แผนสำหรับวิเคราะห์ขั้นต่อไป (Investigation plan) - กำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา, การวิเคราะห์ Cost-Benefit

Outline Template for Improvement Plan ชื่อโครงการ (ตามหัวข้อ Vital few) วัตถุประสงค์ (Objective) ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ (Measurement of success) กิจกรรมหลัก (Key deliverables, Main tasks and milestones) เทคนิควิธีการ (Methodology to be used) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (participants, sponsor, team members, others to be kept informed) กำหนดเวลา (Timetable) Dependencies (inputs, tools, support…)

การจัดทำแผนการปรับปรุง การกำหนดวัตถุประสงค์ของแผนการปรับปรุง ทำความเข้าใจความแตกต่างระหว่าง ‘Fix’ and ‘Improvement’ แผนการปรับปรุงอาจต้องประกอบด้วย ทั้งการบรรเทาปัญหาระยะสั้นและการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงานในระยะยาว ทำอย่างไรจึงจะให้การปรับปรุงนั้นส่งผลอย่างยั่งยืน - การมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบและตัวชี้วัดที่ชัดเจน

การระบุวัตถุประสงค์ของแผนปรับปรุง ประเด็น Fix Improvement กระบวนการวางแผนล่าช้าและยุ่งยาก รวมทั้งไม่ช่วยให้แต่ละหน่วยงานสอดคล้องกัน จัด workshop เพื่อทบทวนและทำให้แผนงานของแต่ละหน่วยงานสอดคล้องกัน จัดให้มีทีมข้ามสายงาน (cross-functional team) เพื่อทบทวนและออกแบบกระบวนการวางแผน รวมทั้งจัดให้มีการอบรมที่จำเป็น มีผู้จัดการเป็นจำนวนมากขาดทักษะที่จำเป็นสำหรับการบริหารคน ระบุผู้จัดการที่ต้องเพิ่มทักษะและจัดให้มีการอบรม ปรับเปลี่ยนระบบการพัฒนาผู้บริหารเพื่อให้มีทักษะที่จำเป็น-เครื่องมือในการประเมินและการให้การฝึกอบรมสำหรับผู้จัดการ และผู้ที่จะได้รับการเลื่อนตำแหน่ง ขาดข้อมูลเชิงปริมาณเกี่ยวกับความพึงพอใจของบุคลากร ขยายหน่วยงานการตลาดเพื่อจัดการสำรวจความพึงพอใจของลูกค้าทุกกลุ่ม จัดสร้างระบบการสำรวจ, การประชุม, และการวิเคราะห์ข้อร้องเรียนอย่างสม่ำเสมอเพื่อรับข้อมูลป้อนกลับจากลูกค้า

การเลือกเทคนิควิธีการ(Methodology)ที่เหมาะสม การปรับปรุงมีหลายแบบ มีตั้งแต่ ‘การกำหนดนโยบายใหม่’ ไปจนถึง ‘การปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงาน’ ‘รู้ขั้นตอนโดยละเอียด’ หรือ ต้อง ‘คาดการณ์สิ่งที่ยังไม่รู้ (Predictable to unknown)’ ‘ใช้ผู้ที่รู้งานเพียง 1-2 คน’ หรือต้องใช้ ‘Cross functional team’

กรอบแนวทางในการกำหนดแผนปรับปรุง จัดทำกระบวนการทำงานแบบใหม่(Developing a new process) ปรับปรุงกระบวนการทำงานที่มีอยู่(Improving an existing process) แก้ไขปัญหา (Solving a problem)

ตัวอย่างการเลือกเทคนิควิธีการปรับปรุงที่เหมาะสม วัตถุประสงค์ของการปรับปรุง เทคนิควิธีการ วิธีการและเครื่องมือทางการจัดการอื่นๆที่นำมาสนับสนุน เพื่อออกแบบกระบวนการ ‘แนะนำผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ตลาด’ ใหม่ให้สามารถลดรอบเวลา (cycle times) ได้30% ถึง 50% ปรับปรุงกระบวนการทำงานที่มีอยู่ (Process improvement) วิเคราะห์กระบวนการโดยเรียงตามลำดับเวลา (Time-based process analysis) เพื่อจัดทำระบบการจัดการข้อร้องเรียนซึ่งมีการจัดหมวดหมู่, วิเคราะห์ และตอบสนองต่อข้อร้องเรียนของลูกค้าในลักษณะที่ควบคุมได้และทันเวลา จัดทำกระบวนการทำงานแบบใหม่ (Process development) ออกแบบระบบฐานข้อมูล(Database design) เพื่อลดความถี่ของความบกพร่องขณะใช้งานของผลิตภัณฑ์ xyz ตามลำดับความสำคัญ แก้ไขปัญหา (Problem solving) Root cause analysis ทบทวนนโยบายการให้เครดิตสำหรับข้อร้องเรียนแต่ละประเภทของลูกค้าเพื่อสร้างความภักดีของลูกค้า ขั้นตอนการทบทวนนโยบาย (Company specific) Focus group ทำการทบทวนนยบายที่เสนอขึ้นมา

Problem solving: typical steps Identify possible causes Define the problem Gather data, analyze and determine root causes Generate possible solutions Select, test, and verify best solutions Plan for implementation Verify that solutions were effective Implement the plan

Process improvement: typical steps Identify customers Identify process outputs Understand customer needs, priorities, and view of performance Understand the current process Select measurements Verify that improvements were effective Identify main performance gaps and process shortcomings Devise, test, and implement process improvements (using problem solving) Monitor ongoing process performance

Process Development: typical steps Define required process outputs Define improvement goals (in terms of process performance) Define a process capable of achieving performance goals Verify feasibility and performance gains (e.g., through pilots, testing) Plan for implementation (typically a major transition) Monitor ongoing process performance Implement the plan Monitor the transition plan and the performance gains

Workshop ฝึกจัดทำแผนปรับปรุง กลุ่ม 1 ทำแผน ‘กระบวนการสื่อสารภายใน’ (อันดับ 2) กลุ่ม 2 ทำแผน ‘พัฒนาระบบการทบทวนผลการดำเนินงาน’ (อันดับ 9) กลุ่ม 3 ทำแผน ‘พัฒนาระบบการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับบริการ’ (อันดับ 1) กลุ่ม 4 ทำแผน ‘พัฒนาระบบติดตามข้อมูลให้พร้อมใช้งานและทันสมัย’ (อันดับ 8) กลุ่ม 5 ทำแผน ‘การสำรวจข้อมูลและวิเคราะห์/ประมวลผลด้านบุคลากร’ (อันดับ 6) กลุ่ม 6 ทำแผน ‘ปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติงานให้ชัดเจน’ (อันดับ 4)