การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การจัดทำจรรยาข้าราชการ
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่อย่างเป็นระบบ (The Civil Service Academy)
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
ธนกิจการเมือง Money Politics.
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
YOUR SUBTITLE GOES HERE
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
Good Corporate Governance
(Individual and Organizational)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 : การรักษาความมั่นคงของรัฐ.
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
มาตรการการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ
สภาพปัญหาการรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการทุจริต(Corruption)
บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน””” โดย รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต ประธานและผู้อำนวยการโครงการปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม วันพฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม 2555 “

ความหมายของคอร์รัปชัน (Corruption) แตกต่างจากการทุจริตอย่างไร ? 2 2

องค์ประกอบความหมายของคำว่าคอร์รัปชันของบุคคลสาธารณะ 1. ปัญหาการขาดคุณธรรมและจริยธรรม 2. การสร้างความเสียหายให้แก่ผลประโยชน์ของประชาชน ราชการ ชาติหรือสาธารณะ (Public interest) 3. การกระทำความผิดตามตัวบทกฎหมาย 3

คอร์รัปชันเป็นพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจากหน้าที่ตามปกติของงานราชการสมัยใหม่ อันเนื่องมาจากความเห็นแก่ตัว (ในเรื่องส่วนตัว สมาชิกของครอบครัวและสมัครพรรคพวกที่ใกล้ชิด) เพื่อเงินทองหรือสถานภาพหรือการละเมิดกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยการใช้อิทธิพลเพื่อประโยชน์ส่วนตัว คอร์รัปชันยังครอบคลุมถึงการติดสินบน (การให้สิ่งตอบแทนเพื่อเบี่ยงเบนการตัดสินใจของบุคคลที่อยู่ในสถานะผู้ปกครอง) การเล่นพรรคเล่นพวก (การใช้การอุปถัมภ์ค้ำจุนด้วยเหตุผลของความสัมพันธ์ใกล้ชิดมากกว่าการคำนึงความถูกผิด) และการจัดสรรทรัพยากรของทางราชการโดยมิชอบ (การจัดสรรทรัพยากรของทางราชการอย่างผิดกฎหมายเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว) Nye,1967 4

คอร์รัปชัน เป็นพฤติกรรมที่บุคคลสาธารณะมุ่งแสวงหาผลประโยชน์ให้แก่ตัวเอง หรือครอบครัว วงศาคณาญาติ พวกพ้องและคนใกล้ชิด โดยอาศัยตำแหน่ง หน้าที่ กฎหมาย อำนาจหรืออิทธิพลทางการเมือง ความสัมพันธ์ส่วนตัว หรือการใช้ข่าวสารข้อมูลภายในเป็นเครื่องมือ ไม่ว่าการกระทำดังกล่าวจะผิดกฎหมายหรืออาจไม่ผิดกฎหมาย ไม่ว่าการกระทำดังกล่าวจะนำมาซึ่งผลประโยชน์ทางด้านเงินทองหรือมิได้รับสิ่งตอบแทนใดๆ เลยก็ตาม แต่ถ้าหากการกระทำดังกล่าวเป็นการใช้บทบาทของความเป็นบุคคลสาธารณะหรือทรัพยากรสาธารณะเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว หรือมีการใช้ดุลยพินิจในการวินิจฉัยกฎหมายโดยมีเจตนาที่จะเลือกปฏิบัติ (Favourtism) หรือเป็นแบบสองมาตรฐาน (Double standard) หรือเป็นการกระทำที่ขัดกับหลักคุณธรรมและจริยธรรมของการเป็นบุคคลสาธารณะ ขัดกับมาตรฐานความคาดหวังของสาธารณชนที่มีต่อบุคคลสาธารณะ ขัดกับผลประโยชน์ของประชาชนจำนวนมาก และขัดกับหลักการแห่งการมีผลประโยชน์ทับซ้อนก็ถือเป็นการคอร์รัปชันทั้งสิ้น สังศิต พิริยะรังสรรค์ คอร์รัปชันเชิงระบบ : นวัตกรรมที่ต้องควบคุม, 2554 5

ประเภทของคอร์รัปชัน คอร์รัปชันทางการเมือง (Political corruption) คอร์รัปชันในภาคธุรกิจเอกชน (Corporate corruption) คอร์รัปชันในการบริหารราชการแผ่นดิน (Administrative corruption) คอร์รัปชันทางเศรษฐกิจ (Economic corruption) สังศิต พิริยะรังสรรค์ คอร์รัปชันเชิงระบบ : นวัตกรรมที่ต้องควบคุม, 2554 6

ประโยชน์ของแนวการวิเคราะห์และทฤษฎีคอร์รัปชันต่อแนวการวิเคราะห์ทางด้านกฎหมาย แนวการวิเคราะห์ด้านคุณธรรม (คุณธรรมของผู้ปกครองที่ต้องทำเพื่อส่วนรวม) แนวการวิเคราะห์แบบหน้าที่นิยม (การใช้อำนาจและอิทธิพลทางการเมือง) แนวการวิเคราะห์เชิงระบบ (แก้ไขระเบียบ สัญญา กฎหมายเพื่อตัวเอง) แนวการวิเคราะห์คอร์รัปชันตามระบบ (ใช้ช่องโหว่ของกฎหมายเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว) แนวการวิเคราะห์ของนักเศรษฐศาสตร์ (ทฤษฎีค่าเช่าและการแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ) แนวการวิเคราะห์ ทางด้านกฎหมาย ทฤษฎีการขัดกันแห่งผลประโยชน์ (ความไม่สอดคล้องระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวกับส่วนรวม) แนวการวิเคราะห์ของเศรษฐศาสตร์ สถาบันแบบใหม่ (ต้นทุนทางธุรกรรม) ทฤษฎีตัวการ - ตัวแทน (ตัวแทนไม่ซื่อสัตย์ต่อตัวการ) แนวการวิเคราะห์แบบเศรษฐศาสตร์การเมือง (ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจกับวัฒนธรรม) แนวการวิเคราะห์แบบโครงสร้างนิยม (โครงสร้างสังคมมีอิทธิพลต่อการเกิดคอร์รัปชัน)

ขอบคุณครับ ศูนย์บริการวิชาการธรรมาภิบาล โครงการปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม