บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BUA 1105 กฎหมายธุรกิจ ๘ มกราคม ๒๕๕๖
Advertisements

ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
สมาชิกเลือกนโยบายลงทุนด้วยตนเอง นำเสนอต่อ
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 7 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
How to promote the private repo markets in Thailand
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
รีทส์คืออะไร รีทส์ คือ กองทรัสต์ที่จัดตั้งขึ้น โดยมี
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Statement of Cash Flows
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
บทที่ 4 งบการเงิน.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
ระบบบัญชี.
กลุ่ม 2 ข้อ 4. ปัญหา สาเหตุ แนวทางป้องกัน แนวทางแก้ไข
ร้านซ่อม ประกอบคอมพิวเตอร์ (ในและนอกสถานที่)
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
การชำระเงินทางการค้าต่างประเทศ
Financial Management.
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการให้กู้ยืมเงินกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 7 เงินสดและหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด (Cash and Marketable Securities Management) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
มีการดำเนินงานหลัก ๆ อยู่ 2 ประการ คือ
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
ระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
"การบริหารจัดการ ธุรกิจสินเชื่อสหกรณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
Creative Accounting
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การแบ่งประเภทของแหล่งเงินทุน สามารถแบ่งได้ดังนี้ การแบ่งประเภทของแหล่งเงินทุน สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1.แหล่งเงินทุนภายใน และแหล่งเงินทุนภายนอก 2.ตลาดเงินนอกระบบ และตลาดเงินในระบบ 3.แหล่งเงินทุนระยะสั้น และแหล่งเงินทุนระยะยาว อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

แหล่งเงินทุนภายใน เป็นการจัดสรรเงินทุนจาก กำไรสะสม และค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ แหล่งเงินทุนภายนอก เป็นการจัดสรรจากการกู้ยืม และการออกหลักทรัพย์ต่างๆ เช่น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ์ หุ้นกู้ เป็นต้น อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ตลาดเงินนอกระบบ เป็นการกู้ยืมเงินนอกสถาบันการเงินซึ่งภาครัฐไม่สามารถตรวจสอบได้ เช่น การเล่นแชร์ การกู้ยืมจากญาติมิตร เป็นต้น จะมีอัตราดอกเบี้ยสูง ตลาดเงินในระบบ หรือตลาดการเงิน เป็นแหล่งเงินทุนซึ่งทำหน้าที่ให้กู้ยืมทั้งระยะสั้นและระยะยาว ดำเนินงานภายใต้กฎหมายสถาบันการเงิน แบ่งเป็นตลาดเงินและตลาดทุน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

แหล่งเงินทุนระยะสั้น เป็นการจัดหาเงินทุนมาเพื่อใช้ในการดำเนินกิจการที่มีระยะเวลาชำระคืนภายใน 1 ปี แหล่งเงินทุนระยะยาว เป็นการจัดหาเงินทุนมาเพื่อใช้ในการดำเนินกิจการที่มีระยะเวลาชำระคืนมากกว่า 1 ปี อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

แหล่งเงินทุนระยะสั้น 1. สินเชื่อการค้า (Trade Credit) 1.1 บัญชีเงินเชื่อ ( Open Account ) 1.2 ตั๋วเงินจ่าย ( Note Payable ) 1.3 ตั๋วแลกเงิน ( Trade Acceptance ) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

แหล่งเงินทุนระยะสั้น (ต่อ) ข้อดีของสินเชื่อการค้า แหล่งเงินทุนระยะสั้น (ต่อ) ข้อดีของสินเชื่อการค้า 1. เป็นแหล่งเงินทุนที่มีอยู่ทั่วไปและหาได้ง่าย 2. ไม่ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายใด ๆ 3. การขอเครดิตการค้าไม่ต้องทำเป็นทางการ 4. เหมาะสำหรับธุรกิจขนาดเล็กที่ไม่มีเครดิตพอที่จะหาเงินจากแหล่งอื่น 5. มีความยืดหยุ่นสูง เช่นอาจจะเลื่อนเวลาการชำระเงินได้ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

แหล่งเงินทุนระยะสั้น (ต่อ) 2. ตราสารพาณิชย์ (Commercial Paper) แหล่งเงินทุนระยะสั้น (ต่อ) 2. ตราสารพาณิชย์ (Commercial Paper) 2.1 ตราสารพาณิชย์ที่ขายผ่านผู้ค้าหลักทรัพย์ ( Dealer Market ) 2.2 ตราสารพาณิชย์ที่ขายโดยผู้ออกโดยตรง ( Direct Placement Market ) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

แหล่งเงินทุนระยะสั้น (ต่อ) แหล่งเงินทุนระยะสั้น (ต่อ) ข้อดีและข้อเสียของตราสารพาณิชย์ ข้อดี 1. อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าดอกเบี้ยเงินกู้ระยะสั้น 2. ไม่ถูกจำกัดโดยกฎหมายเหมือนการกู้ยืมเงินจากธนาคาร 3. ไม่ต้องมีหลักประกัน ข้อเสีย 1. ผู้ซื้อตราสารมีเงินทุนจำกัดในบางช่วง ทำให้การขายตราสารไม่เป็นตามที่คาดไว้ 2. ผู้ออกตราสารพาณิชย์ที่มีปัญหาทางการเงิน จะขาดความน่าเชื่อถือทำให้ขายตราสารได้ยาก อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

แหล่งเงินทุนระยะสั้น 3.เงินกู้ระยะสั้นจากธนาคาร        3.เงินกู้ระยะสั้นจากธนาคาร (Short term finance by commercial bank)   3.1 เงินกู้ชนิดไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน ( Unsecured Loans ) 3.2 เงินกู้ชนิดมีหลักทรัพย์ค้ำประกัน ( Secured Loans ) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

แหล่งเงินทุนระยะสั้น (ต่อ)         4. การนำบัญชีลูกหนี้ไปเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน (Account Receivable Loans)      5. ตั๋วเงินรับรองโดยธนาคาร (Bank Account) 6. การใช้สินค้าคงเหลือค้ำประกันเงินกู้ (Inventory financing) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การเช่าสินทรัพย์ระยะยาว การกู้เงินจากธนาคารหรือสถาบันการเงิน แหล่งเงินทุนระยะยาว การเช่าสินทรัพย์ระยะยาว การกู้เงินจากธนาคารหรือสถาบันการเงิน การออกหุ้นสามัญและบุริมสิทธิ์ การออกหุ้นกู้ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต