1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานผู้บริหารส่วนกลาง และภูมิภาค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดสรรตำแหน่งและการคัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้ารับราชการ
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ติดตามการพัฒนา รพ.สต. ด้านกำลังคน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โรงพยาบาลขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
รายประเด็น ปีงบประมาณ 2553
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สป. สธ. ซ้อมความเข้าใจ การจ้างลูกจ้างชั่วคราวเงินนอกงบประมาณ สธ 0201
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประชุมคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2557 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
คณะกรรมการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
ผลการดำเนินงานโครงการ / กิจกรรม ของ สท. รอบ 12 เดือน ณ วันที่ 25 กันยายน 2557.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรม 3 ดี ปี 2553 ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 19 ตุลาคม2553 1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานผู้บริหารส่วนกลาง และภูมิภาค 2.ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลิกภาพบุคลากรในโรงพยาบาล 3.มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทางสื่อ เอกสาร วิทยุ โทรทัศน์ 4.ติดตาม กำกับผลดำเนินงานตามแบบรายงาน ทุกสัปดาห์ 5.รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามกิจกรรม นำเสนอผู้บริหารทุกสัปดาห์ 6.ตรวจสอบคำสั่งคณะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาลเพื่อให้มีความถูกต้อง เหมาะสม และสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน (แต่งตั้งคณะกรรมการไม่เป็นไปตามที่กำหนด มากกว่า 50%)

ภาพรวมผลการดำเนินงานกิจกรรม 3 ดี กระทรวงสาธารณสุข (The Must) รพ.กระทรวงสาธารณสุข ที่รายงาน 891 แห่ง (ร้อยละ 100) คิดเป็น%ของรพ. (N=891) 1. ผ่านเกณฑ์ทุกข้อ 723 แห่ง 81.05 % 2. ไม่ผ่านเกณฑ์ 1-3 ข้อ 143 แห่ง 16.03 % 3. ไม่ผ่านเกณฑ์ 4-6 ข้อ 24 แห่ง 2.69 % 4. ไม่ผ่านเกณฑ์ 7-9 ข้อ 1 แห่ง 0.11 % 5. ไม่ผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ 10 ข้อ ขึ้นไป

ภาพรวมผลการดำเนินงานกิจกรรม 3 ดี กระทรวงสาธารณสุข (The Best) รพ.กระทรวงสาธารณสุข ที่รายงาน 885 แห่ง (ร้อยละ 99.22) คิดเป็น%ของรพ. (N=891) 1. ผ่านเกณฑ์ทุกข้อ 369 แห่ง 41.37 % 2. ไม่ผ่านเกณฑ์ 1-3 ข้อ 425 แห่ง 47.98 % 3. ไม่ผ่านเกณฑ์ 4-6 ข้อ 74 แห่ง 8.30 % 4. ไม่ผ่านเกณฑ์ 7-9 ข้อ 12 แห่ง 1.35 % 5. ไม่ผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ 10 ข้อ ขึ้นไป 2 แห่ง 0.22 %

ภาพรวมผลการดำเนินงานกิจกรรม รพ ภาพรวมผลการดำเนินงานกิจกรรม รพ. 3 ดี สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (The Must) กิจกรรม The Must รพ.สังกัด สป. ที่รายงาน 831 แห่ง ร้อยละ 100 คิดเป็น% ของ รพ. สป. (N=831) 1. ผ่านเกณฑ์ทุกข้อ 665 แห่ง 80.02 % 2. ไม่ผ่านเกณฑ์ 1-3 ข้อ 143 แห่ง 17.21 % 3. ไม่ผ่านเกณฑ์ 4-6 ข้อ 22 แห่ง 2.65 % 4. ไม่ผ่านเกณฑ์ 7-9 ข้อ 1 แห่ง 0.12 % 5. ไม่ผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ 10 ข้อ ขึ้นไป

ภาพรวมผลการดำเนินงานกิจกรรม รพ ภาพรวมผลการดำเนินงานกิจกรรม รพ. 3 ดี สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (The Best) กิจกรรม The Best รพ.สังกัด สป. ที่รายงาน 827 แห่ง ร้อยละ 99.52 คิดเป็น% ของ รพ. สป. (N=831) 1. ผ่านเกณฑ์ทุกข้อ 359 แห่ง 43.20 % 2. ไม่ผ่านเกณฑ์ 1-3 ข้อ 380 แห่ง 45.73 % 3. ไม่ผ่านเกณฑ์ 4-6 ข้อ 74 แห่ง 8.90 % 4. ไม่ผ่านเกณฑ์ 7-9 ข้อ 12 แห่ง 1.44 % 5. ไม่ผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ 10 ข้อ ขึ้นไป 2 แห่ง 0.24 %

ความก้าวหน้าการพัฒนาโรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่ รพ.สป ส.ค.-ต.ค. 2553 ความก้าวหน้าการพัฒนาโรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่ รพ.สป ส.ค.-ต.ค. 2553 The Must โรงพยาบาล สป. ก่อน ดำเนินการ หลังดำเนินการ (6 ส.ค.53) (15 ต.ค.53) แห่ง ร้อยละ รพศ./รพท. 33 35.11 75 79.79 รพ.> 60 ต. 86 33.73 215 84.31 รพ. < 60 ต. 130 26.97 375 77.8 รพ.สต.(กย.53) 1446 72.3 1557 77.85

ความก้าวหน้าการพัฒนาโรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่ รพ. สป สค. -ตค ความก้าวหน้าการพัฒนาโรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่ รพ.สป สค.-ตค. 2553(The Must)

ความก้าวหน้าการพัฒนาโรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่ รพ.สป สค.-ตค. 2553 ความก้าวหน้าการพัฒนาโรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่ รพ.สป สค.-ตค. 2553 โรงพยาบาล สป. The best ก่อน ดำเนินการ (6 ส.ค.53) หลังดำเนินการ (15 ต.ค.53) แห่ง ร้อยละ รพศ./รพท. 15 15.96 35 37.23 รพ.> 60 ต. 8 3.14 91 35.69 รพ. < 60 ต. 14 2.90 233 48.34 รพ.สต. 555 27.75 664 33.20

โรงพยาบาลสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 6 ส. ค. - 15 ต. ค โรงพยาบาลสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 6 ส.ค.- 15 ต.ค.2553 ผ่านเกณฑ์ทุกข้อ ( The Best)

ภาพรวมผลการดำเนินงานกิจกรรม รพ. สต ภาพรวมผลการดำเนินงานกิจกรรม รพ.สต. 3 ดี สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข N=2,000 แห่ง กิจกรรมประเมิน The Must The Best แห่ง ร้อยละ 1. ผ่านเกณฑ์ทุกข้อ 1,557 77.85 664 33.20 2. ไม่ผ่านเกณฑ์ 1-3 ข้อ 381 19.05 891 44.55 3. ไม่ผ่านเกณฑ์ 4-6 ข้อ 62 3.10 220 11.00 4. ไม่ผ่านเกณฑ์ 7ข้อขึ้นไป 35 1.75 รวม 2,000 100 1,810 90.50

ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานของโรงพยาบาล 1.ข้อจำกัดด้านพื้นที่ สถานที่คับแคบ 2.การปรับปรุงเรื่องโครงสร้างต้องใช้เวลาในการดำเนินการ 3. จำนวนคนไข้มากแต่แพทย์มีน้อย ทำให้ลดเวลาการรอคอยทำได้ยาก 4 อัตรากำลังแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล ไม่เพียงพอ ทำให้ไม่สามารถเปิดคลินิกนอกเวลาได้ใน บางแห่ง 5.มีข้อจำกัดด้านงบประมาณ 6.เกณฑ์การประเมินไม่มีคำจำกัดความที่ชัดเจน ทำให้การประเมินตนเองในแต่ละที่อาจคลาดเคลื่อนได้ 7.การรายงานผลงานทุกสัปดาห์ เป็นการเพิ่มภาระของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ บางกิจกรรมต้องใช้ระยะเวลาในการดำเนินงาน

ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานของ รพ.สต. 1.ขาดงบประมาณสนับสนุนในการดำเนินงาน 2.ขาดแพทย์และบุคลากรในการให้บริการ 3.เกณฑ์การประเมินไม่มีคำจำกัดความที่ชัดเจน ทำให้การประเมินตนเองในที่ละที่อาจคลาดเคลื่อนได้ 4.เกณฑ์ข้อ 2.1.3 ปรับเป็น มีเจ้าหน้าที่ด้านรักษาพยาบาล (แพทย์ หรือพยาบาลวิชาชีพ) ออกตรวจรักษาและแพทย์ให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์หรือ Internet (เพื่อให้สอดคล้องกับเกณฑ์การยกระดับเป็นรพ.สต.) 5.ขาดการสนับสนุนจากเครือข่าย บุคลากรขาดความรู้ ความเข้าใจในนโยบายเร่งรัด

แผนการพัฒนาในปี 2554 1.สนับสนุนงบประมาณค่าที่ดิน สิ่งก่อสร้าง เพื่อปรับปรุงห้องตรวจโรค ห้องน้ำ ทาสี และอื่นๆ 2.ประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการทุก 6 เดือน เพื่อสะท้อนให้เห็นภาพของการให้บริการที่ชัดเจน 3.พัฒนาบุคลิกภาพบุคลากรเพื่อให้สร้างพฤติกรรมการบริการที่ดี เหมาะสม 4.สร้างขวัญ กำลังใจในการปฏิบัติงาน ได้แก่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การให้รางวัล 5. ติดตาม ตรวจเยี่ยม โดยผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง 6.ประเมินผล Best of the best มอบรางวัล 26 พ.ย.53

เกณฑ์การประเมิน Best of the best ขั้นที่ 1 โรงพยาบาลจะต้องผ่านเกณฑ์กิจกรรม The Must และ The Best ทุกข้อ ตามประเภทรพ. ขั้นที่ 2 ประเมินผลเป็นคะแนน ดังนี้ 2.1 จุดเด่นของกิจกรรม 3 ดี(Highlight) 10คะแนน 2.2 นวัตกรรมที่เกิดขึ้นของกิจกรรม 3 ดี (Innovation) 10 คะแนน 2.3 คุณภาพของการดำเนินงาน 3 ดี (ตามแบบประเมิน) 80 คะแนน รวม 100 คะแนน

ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.โรงพยาบาลสังกัดกรมต่างๆ ให้กรมแต่ละกรมเป็นผู้พิจารณาคัดเลือกกรมละ 1 รพ. ตามเกณฑ์การประเมินที่กำหนด 2. โรงพยาบาลสังกัด สป. ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้คัดเลือกโรงพยาบาลภายในเขตๆ ละ 4 ประเภทๆละ 1 แห่ง ตามเกณฑ์การประเมินที่กำหนด ซึ่งจะมี 4 ประเภท ดังนี้ -โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป 1 แห่ง -โรงพยาบาลชุมชน มากกว่า 60 เตียง 1 แห่ง -โรงพยาบาลชุมชน น้อยกว่า 60 เตียง 1 แห่ง -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 1 แห่ง

Thank You โรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่ เพื่อคนไทยสุขภาพดี มีรอยยิ้ม กระทรวงสาธารณสุข 20 ส.ค.53 โรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่ เพื่อคนไทยสุขภาพดี มีรอยยิ้ม Fresh & New บรรยากาศ สดชื่น Friendly บริการเป็นมิตร Modern &enthusiasm บริหารอย่างทันสมัย