น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ระบบบริการสุขภาพของไทย โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป (94) บริการตติยภูมิ จังหวัด ( 200,000-2M.) โรงพยาบาลชุมชน (724) บริการทุติยภูมิ อำเภอ (10,000-100,000) สถานีอนามัย (9,770) บริการปฐมภูมิ ตำบล (1,000-10,000) ศสมช สาธารณสุขมูลฐาน หมู่บ้าน (80,000) SELF CARE ครอบครัว PCU ระบบบริการสุขภาพของไทย ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง
แนวคิดรพ.สต. ระบบบริการปฐมภูมิ อาสาสมัครสาธารณสุขและการสาธารณสุขมูลฐาน กระจายอำนาจ
นิยามโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิที่มีพื้นที่รับผิดชอบในระดับตำบล เน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน พร้อมกับมีความสามารถในการให้บริการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพเพิ่มขึ้น โดยเป็นเครือข่ายกับโรงพยาบาลชุมชน หรือ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป และสามารถส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม 4
ลักษณะที่สำคัญ มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยมีพื้นที่รับผิดชอบ (catchment area) ในระดับตำบล และมีเครือข่ายร่วมกับสถานีอนามัย และ หน่วยบริการสุขภาพอื่น ในตำบลข้างเคียง การบริหารจัดการ (3/4 ประสาน)โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน อาทิ ประชาชน อปท. ภาคราชการ เอกชน และทุกภาคส่วน บริการแบบเชิงรุก ที่มีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับบริบทความพร้อม/ ศักยภาพของชุมชน มีการให้บริการรักษาพยาบาลที่มีความเชื่อมโยงกับระดับอื่นที่สูงกว่าโดยสามารถให้คำปรึกษาได้ตลอดเวลา บุคลากรที่มีความรู้และทักษะแบบสหสาขาวิชา (skilled mix) ทำงานเป็น team work จัดระบบส่งต่อผู้ป่วย ทั้งไปและกลับ 5
รูปแบบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล มีพื้นที่รับผิดชอบชัดเจน แบ่งตามจำนวนประชากร ประมาณ 7,000 คน บุคลากร ขนาดเดี่ยว 4 คน, เครือข่าย 7 คน (แพทย์/พยาบาลเวช/พยาบาล อย่างน้อย 1 คน ที่เหลือเป็น สหวิชาชีพ) สัดส่วนเจ้าหน้าที่ : ประชากร (1:1,250) พิจารณาตามความเหมาะสมของพื้นที่ (คมนาคม, เขตการปกครอง,พื้นที่พิเศษ) 6
รูปแบบ รพ.สต. พื้นที่ ลักษณะรพ.สต. เทศบาล ชนบท พิเศษ (เกาะ, ห่างไกล) รพ.สต.เดี่ยว ประชากรหนาแน่น / อาจมีหลาย รพ.สต.ในพื้นที่ ลักษณะเฉพาะ อาทิ โรงงาน, ห่างไกล, เกาะ, แหล่งท่องเที่ยว รพ.สต.เครือข่าย ประชากรเบาบาง / รวมเป็นเครือข่าย ลดปัญหาเรื่องบุคลากร พื้นที่ ลักษณะรพ.สต.
ขอบเขตการให้บริการ ให้บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและรักษาพยาบาลกับประชากร บุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมถึงเรื่องสิ่งแวดล้อม 8
รพ.สต. แตกต่าง จาก สอ.อย่างไร เพิ่มคุณภาพบริการ (รักษาพยาบาล) (พยาบาลเวชปฏิบัติ/แพทย์หมุนเวียน) เชื่อมโยงกับ รพ.แม่ข่าย ได้รับการสนับสนุนอย่างชัดเจน (บุคลากร/รักษาพยาบาล/ยา เวชภัณฑ์/การส่งต่อ/งบประมาณ) ทำงานเชิงรุก ในกลุ่มประชากรพิเศษ ผป.โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผป.จิตเวช เยี่ยมบ้าน (Home ward, Home visit) แก้ปัญหาสุขภาพเชิงรุก (ชมรมต่างๆ) ชุมชน (การบริหารจัดการ อสม. ชมรมออกกำลังกาย) ครอบครัว (กสค.)
สนับสนุนงบประมาณ (SP2) ปี 53 จำนวน 2,000 ครุภัณฑ์ ดำเนินงาน เล็ก <3,000 คน 300,000 150,000 กลาง 3,000-7,000 คน 400,000 243,000 ใหญ่ >7,000 คน 500,000 300,000 ระบบปรึกษาทางไกล 40,000 บาท/แห่ง (ปรับโฉมบริการ 200,000 บาท/แห่ง) ตุลาคม 53 7,770 แห่ง งบประมาณปกติปี 54
บริหารจัดการ/การมีส่วนร่วม คณะกรรมการพัฒนา รพ.สต.(3/4 ประสาน) ประชาคมในการแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ (SRM)