โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล พญ. ศิริพร กัญชนะ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf
อัตราการสูญเสียปีสุขภาวะใน 3 กลุ่มโรค
ภาระทางสุขภาพ 20 อันดับแรกของประชากรไทย พ.ศ. 2547 ที่มา: คณะทำงานศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยง
ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญ ที่ทำให้สูญเสียปีสุขภาวะ ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
นโยบายรัฐบาล นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ข้อ 3.3.3 ปรับปรุงบริการด้านสาธารณสุข......... ยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระบบบริการสุขภาพของไทย ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป (94) บริการตติยภูมิ จังหวัด ( 200,000-2M.) โรงพยาบาลชุมชน (724) บริการทุติยภูมิ อำเภอ (10,000-100,000) สถานีอนามัย (9,770) บริการปฐมภูมิ ตำบล (1,000-10,000) PCU ศสมช สาธารณสุขมูลฐาน หมู่บ้าน (80,000) SELF CARE ครอบครัว
นิยามโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิที่มีพื้นที่รับผิดชอบในระดับตำบล เน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระัดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน พร้อมกับมีความสามารถในการให้บริการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพเพิ่มขึ้น โดยเป็นเครือข่ายกับโรงพยาบาลชุมชน หรือ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป และสามารถให้คำปรึกษา/ส่งต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมง 8
ลักษณะที่สำคัญ มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยมีพื้นที่รับผิดชอบ (catchment area) ในระดับตำบล และมีเครือข่ายร่วมกับสถานีอนามัย และ หน่วยบริการสุขภาพอื่น ในตำบลข้างเคียง เน้นการให้บริการแบบเชิงรุก ที่มีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับบริบทความพร้อม/ ศักยภาพของชุมชน บุคลากรที่มีความรู้และทักษะแบบสหสาขาวิชา (skill mix) ทำงานเป็น team work มีการให้บริการสุขภาพที่มีความเชื่อมโยงกับบริการสุขภาพในระดับอื่นที่สูงกว่าโดยสามารถให้คำปรึกษาและส่งต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมง มีการปฏิรูปการบริหารจัดการ (3/4 ประสาน)โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ประชาชน อปท. ภาคราชการ เอกชน และทุกภาคส่วน 9
ขอบเขตการให้บริการ ให้บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและรักษาพยาบาลกับประชากร บุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมถึงเรื่องสิ่งแวดล้อม 10
ขนาด โรงพยาบาลตำบลขนาดเล็ก – ประชากรไม่เกิน 3000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 5 คน โรงพยาบาลตำบลขนาดกลาง – ประชากรไม่เกิน 6,000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 7 คน โรงพยาบาลตำบลขนาดใหญ่ – ประชากรมากกว่า 6,000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 9-10 คน 11
เป้าหมายและระยะเวลา ระยะ จำนวนโรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล ช่วงเวลา Phase 1 – ระยะเริ่มต้นและนำร่อง อย่างน้อย 1 แห่งใน 1 อำเภอที่มีความพร้อมของ CUP กันยายน 2552 Phase 2 – ระยะขยายผล เพิ่มเติมอีก 1000 แห่ง กันยายน 2553 Phase 3 – ขยายครอบคลุมทั่วประเทศ ในตำบลที่เหลือทั้งหมด ตุลาคม2554 –กันยายน2562 Phase 4 – ติดตามประเมินผลและสนับสนุนการพัฒนา ตุลาคม 2553 – กันยายน 2562
แนวทางการดำเนินงานโครงการ โครงสร้างพื้นฐาน ปรับปรุงให้มีห้องตรวจรักษาผู้ป่วย(ชั้นล่าง) เตียงสังเกตุอาการ อย่างน้อย 3 เตียง ระบบการสื่อสารกับแม่ข่าย มีครุภัณฑ์ อุปกรณ์การแพทย์ตามมาตรฐาน พาหนะเยี่ยมบ้าน 13
แนวทางการดำเนินงานโครงการ บุคลากร พยาบาลเวชปฏิบัติ อย่างน้อย 1 คน ทีมสร้างเสริมสุขภาพ ตามขนาดของ รสต. 14
แนวทางการดำเนินงานโครงการ บริการ รักษาพยาบาลคุณภาพสูงขึ้น ส่งต่อ รวดเร็ว ครบวงจร คัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เยี่ยมบ้าน ดูแลผู้ป่วย เพิ่มศักยภาพบุคคลในครอบครัว เครือข่าย อสม. ตรวจ กระตุ้นพัฒนาการ ในเด็ก วัคซีน 15
แนวทางการดำเนินงานโครงการ บริการ หญิงวัยเจริญพันธุ์ ได้รับ ธาตุเหล็ก+โฟลิค กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ การออกกำลังกาย บุคคลและชุมชน ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมอาหารปลอดภัย คนไทยไร้พุง 16
แนวทางการดำเนินงานโครงการ บริหารจัดการ คณะกรรมการบริการ รพสต. กระบวนการประชาคมในการแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 17
ระบบสนับสนุนที่ต้องการ ระบบข้อมูลสุขภาพ (health information system) ระบบการปรึกษาทางไกล (Real time consultation) ระบบการส่งต่อ (Referral System) การแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่มีคุณภาพเช่นเดียวกับโรงพยาบาลแม่ข่าย การสนับสนุนและการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนและ อปท. 18
ประชาชนได้อะไร ความครอบคลุม (coverage) ของบริการขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น การให้วัคซีน การฝากครรภ์ ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพชีวิต (Quality of life) ของประชาชนดีขึ้น อัตราทารกตาย และ แม่ตายลดลง การเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนในระดับตำบลดีขึ้น ลดความแออัดของโรงพยาบาลแม่ข่ายลง จำนวนผู้ป่วย ข้ามจากตำบลมาโรงพยาบาลอำเภอ/จังหวัดลดลง การนอนโรงพยาบาลจากโรคแทรกซ้อนหรือโรคป้องกันได้ลดลง 19
ประชาชนได้อะไร มีการค้นพบผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ภาวะแทรกซ้อนโรคเรื้อรังลดลง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมารับบริการจำนวนเพิ่มขึ้น (คน/ครั้ง) อัตราตายลดลง 20
สวัสดี