การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับค่าตอบแทน สำหรับกำลังคน ด้านสาธารณสุข
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
ราชบุรี, สุพรรณบุรี นครปฐม, กาญจนบุรี
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
กลุ่ม 3 โรงพยาบาลชุมชนที่มีแพทย์ดำเนินการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
 งบประมาณ รอบแรก ปี 52(2 แสนบาท / แห่ง ) ยังได้รับไม่ครบ  งบประมาณ ปี ไม่เป็นไปตามแผน และไม่ชัดเจน  งบประมาณที่ได้รับไม่ตรงและไม่สอดคล้องกับความต้องการ.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
งบประมาณ โครงการไข้หวัดใหญ่ จาก สปสช.
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
การพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10.
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554

ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12 การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12 สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 12 เป็นประธาน ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ 4 จังหวัด

เป้าหมายการดำเนินการของ รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 12 จังหวัด จำนวน สอ. เป้าหมายปี 2552 เป้าหมายปี 2553 จำนวนอำเภอ รพ.สต.ตามสัดส่วน สอ. ขอนแก่น 248 26 29 58 มหาสารคาม 175 13 19 38 กาฬสินธุ์ 156 18 ร้อยเอ็ด 231 20 52 รวม 810 77 93 186 หมายเหตุ ให้ทุกจังหวัด Confirm รายชื่อ รพ. สต. ให้ สนย. ก่อนวันที่ 3 มิย. 52

ระบบการบริหารจัดการของ รพ.สต. เขต 12 ขอบเขตงานบริการ บริการแบบองค์รวม ครบ 4 องค์ - การรักษาพยาบาล ทั้งผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยฉุกเฉิน - การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การฟื้นฟูสภาพ การจัดระบบส่งต่อ กับ รพ. แม่ข่าย และการส่งกลับ - บริการรับปรึกษาและส่งต่อ ตลอด 24 ชม. การบริการในชุมชน - บริการเยี่ยมบ้าน จัดระบบนัดหมาย

ระบบการบริหารจัดการของ รพ.สต. เขต 12 ขอบเขตการบริหารจัดการ - พัฒนาระบบ Smart Card ในงานบริการทั้งจังหวัด ร้อยเอ็ด ที่เหลือใช้บัตรเดียวทุกจังหวัดในเขต 12 ภายใน กย. 52 การบริการ Real Time ภายในจังหวัดขอนแก่น ใช้ Internet ความเร็วสูง ส่วนที่เหลือใช้การ Consult ผ่านมือถือ โดย รพ. แม่ข่ายต้องจัดระบบรองรับ ระบบ Refer ต้องเชื่อมโยงกับระบบ EMS มีระบบการ จัดรถพยาบาล รับส่งต่อ และการส่งกลับ

ระบบการบริหารจัดการของ รพ.สต. เขต 12 การจัดการด้านกำลังคน - หัวหน้า สอ. เดิม เป็น ผอ. รพ.สต. พยาบาลเวชปฏิบัติ 1 คน พยาบาลวิชาชีพ 1 คน เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 1 คน ที่เหลือ 5-10 คน ตามขนาด ทีมสหสาขา แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร กายภาพบำบัด จาก รพ. แม่ข่าย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง (พยายามให้เป็นทีมเดิม)

ระบบการบริหารจัดการของ รพ.สต. เขต 12 การจัดการด้านกำลังคนในระดับเขต ช่วงแรก ให้ รพ. แม่ข่าย สนับสนุนพยาบาลวิชาชีพ ไปประจำ รพ. สต. ในระยะยาว เร่งรัดการสร้างพยาบาลเวชปฏิบัติ (โครงการพิเศษ) ปี 52-53 จำนวน 4 รุ่น ๆ ละ 60 คน รวม 240 คน

ระบบการบริหารจัดการของ รพ.สต. เขต 12 การจัดการด้านงบประมาณ การบริหารงบประมาณ 2 แสนบาท ใช้พัฒนา IT เพื่อเชื่อมโยง, ค่าตอบแทน ค่ารถ ค่าจ้าง เพื่อการ ทำ Home Ward, พัฒนาระบบข้อมูล , พัฒนา HR, การประชาสัมพันธ์ รพ.สต. , การใช้ Call Center ใช้ SMS นัดหมาย Pt เป็นต้น ปี 2552 บริหารงบ ตามเดิมไปก่อน ปี 2553 บริหารแบบมีส่วนร่วมรูปคณะกรรมการ เสนอให้จัดสรรงบบางส่วน OP ให้ รพ.สต. - เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น มีกองทุนในชุมชน

ระบบการบริหารจัดการของ รพ.สต. เขต 12 แผนความร่วมมือกับท้องถิ่น มี คกก. รพ. สต. (PCU Board เดิม) มี ท้องถิ่น และ ภาคประชาชน ร่วมเป็นกรรมการด้วย ใช้รูปแบบประชาคม เปิดโอกาสให้ท้องถิ่น ประชาชน ถือหุ้นกองทุน

ระบบการบริหารจัดการของ รพ.สต. เขต 12 บทบาทการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สสจ. เป็น Facilitator รพศ./รพท./รพช. เป็นแม่ข่ายสนับสนุนทรัพยากร การส่งต่อ การจัดบริการ สสอ. เป็น ผู้บริหารจัดการระดับอำเภอ สอ. เป็น ผู้จัดการ รพ. สต. โดยหัวหน้า สอ. เป็น ผอ.