แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

Health Promotion & Prevention
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Research Mapping.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2551
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่ นายแพทย์ชูวิทย์ ลิขิตยิ่งวรา หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

การบริหารงบ P&P โดยมติของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ งบจัดซื้อส่วนกลาง งบ P&P เน้นชุมชน งบ P&P expressed demand งบ P&P Area-based งบสร้างสุขภาพจาก สสส. กองทุนตำบล งบสนับสนุนสุขภาพตำบล งบเขต 30% งบจังหวัด 70% งบสร้างสุขภาพจาก อปท.

กรอบแนวคิด ๑. ระดับหน่วยงานในส่วนกลาง : ปรับเปลี่ยนบทบาทของกระทรวง เขตตรวจราชการ สสจ. และหน่วยคู่สัญญาระดับอำเภอ ๒. ระดับเขต : เขตตรวจราชการ สธ. และ สปสช.เขตพื้นที่ จัดทำกรอบงานสร้างเสริมสุขภาพเขต เพื่อรองรับงบ PP Area-based ๓๐% ๓. ระดับจังหวัด : สสจ. เป็นแกนในการจัดทำกรอบแผนงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจังหวัด คู่ขนานกับเขตเพื่อรองรับ Area-based ๗0 %

แนวทางการบริหารงบประมาณ อาศัยหลักการบูรณาการ ๓ ประการ คือ ๑. การบูรณาการกรอบแนวทางแก้ไขปัญหา ๒. การบูรณาการการใช้ทรัพยากร ๓. การบูรณาการด้านการกำกับติดตามและประเมินผล

การบูรณาการกรอบแนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ ๑. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ มี ๖ นโยบายเร่งด่วน ได้แก่ ๑.๑ โครงการหยุดยั้งวัณโรค ๑.๒ โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ๑.๓ โครงการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยในเครือข่ายบริการสุขภาพ ๑.๔ โครงการอาหารปลอดภัยเด็กไทยฉลาด ๑.๕ โครงการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีไทย) ๑.๖ โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการและการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

การบูรณาการกรอบแนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ ๒. ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพื้นที่ เครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหาคือ ๒.๑ กระบวนการจัดทำแผนบูรณาการแก้ปัญหาพื้นที่เชิงรุก ๒.๒ ดำเนินงานในลักษณะร่วมกันคิด ช่วยกันทำ ๒.๓ ให้มีความสอดคล้องกันทั้งยุทธศาสตร์ระดับประเทศ ระดับเขต และระดับจังหวัด

สรุปแนวทางการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ ๑. สถานการณ์และแนวโน้มของปัญหา ๒. ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหา ๓. ความร่วมมือในการดำเนินการลักษณะ “ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ” ๔. การบูรณาการกิจกรรมและทรัพยากรในการแก้ปัญหา ๕. ความสอดคล้องระหว่างยุทธศาสตร์

กรอบการบริหารแผนงาน งบประมาณ ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและป้องกันโรคระดับประเทศ ยุทธศาสตร์จังหวัด อปสข. คกก.PP เขต ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาสุขภาพ ส่วนกลาง เขต จังหวัด หน่วยงานอื่น ๆ สธ. สปสช. PPA (30%) คกก. PP จังหวัด พัฒนา* ศักยภาพ นวัตกรรม* นำร่อง อปท. สสส. องค์กรเอกชน Non UC (จังหวัด) PP National priority* (สธ.) PPA (70%)* PP Expressed* demand PP* Community PP National priority* (จังหวัด) บูรณาการแผนระดับจังหวัด * หมายเหตุ : แหล่งงบประมาณจาก สปสช. แผนจังหวัด แผนอำเภอ แผนตำบล

แนวทางบูรณาการด้านทรัพยากรและงบประมาณ แหล่งงบประมาณ ๑. งบประมาณ สธ. (งบ Non UC) ที่จัดสรรให้แต่ละจังหวัด ๒. งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับบุคคลของ สปสช. ที่เหมาจ่ายรายหัว ๓. งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จาก สสส. ๔. งบจาก อปท. ๕. งบจากองค์กรต่างประเทศ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร (NGOs) ฯลฯ

แนวทางบูรณาการด้านทรัพยากรและงบประมาณ การจัดทำแผนบูรณาการของจังหวัด ๑. แผนงานสำหรับดำเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่ ๒. แผนพัฒนาศักยภาพของจังหวัดในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ตัวอย่างประเด็นพิจารณาการพัฒนาฯ ของจังหวัด ๑. การเสริมสร้างความเข้มแข็งในการทำงานของจังหวัด เช่น การจัดทำแผน การนิเทศ กำกับ ติดตามการปฏิบัติ การวิเคราะห์และรายงานผลการปฏิบัติงาน ๒. การพัฒนาบุคลากร ๓. การศึกษาวิจัย และจัดการความรู้ ๔. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพของจังหวัด

ขอขอบคุณ