บล็อกไดอะแกรมภาคจูนเนอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Combination Logic Circuits
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
วงจรลบแรงดัน (1).
Bipolar Junction Transistor
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
ระบบบัส I2C I2C Bus System.
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
General Purpose TV Interfacing Module
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
นำเสนอการใช้บริการของ
ENCODER.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ลำโพง (Loud Speaker).
( wavelength division mux)
บรรยายโดย นายประสพพงษ์ บัวทอง วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร หรือ พญาไท 314
DS30M DUAL FEED GUN.
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
เครื่องมืออุปกรณ์งานเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การติดตั้งสายอากาศโทรทัศน์
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
สะแกนอิเล็กตรอน ทางแนวนอน ไฟเลี้ยงฮอร์ (ไฟกระตุ้น)
VD D คีย์ สวิทช์ องค์ประกอบการทำงานเบื้องต้นของไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ OS C2 RS T VS S 5 V 4 MHz 5 V.
บล็อกไดอะแกรมภาคจ่ายไฟ
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
ซิลิคอน คอนโทรล สวิตช์ (SCS)
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
การสื่อสารประเภทวิทยุ
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
ชุดรับสัญญาณจากดาวเทียม
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
Actuator
โดย นายธีระพงษ์ มะลัยทิพย์
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
ระบบควบคุมอัตโนมัตในงานอุตสาหกรรม
เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet)
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บล็อกไดอะแกรมภาคจูนเนอร์ RF RT AGC BL BH BU VT AFT IF ขยายสัญญาณ IF รับสัญญาณควบคุมจากไอซีไมโครคอมฯ กำจัดสัญญาณรบกวน บล็อกไดอะแกรมภาคจูนเนอร์ 1

องค์ประกอบกระป๋องจูนเนอร์ 1. จุดต่อสัญญาณเข้า (RF INPUT) เป็นจุดต่อสายโคแอ็กเชี่ยล 75 โอห์ม จากสายอากาศ เพื่อนำสัญญาณสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากเครื่องส่งเข้าสู่ภาครับของเครื่องรับ ซึ่งสัญญาณ RF ที่ได้จะมีองค์ประกอบขอสัญญาณหลายชนิดอยู่ด้วยกัน 2. ขาไฟเลี้ยงจูนเนอร์ (BM,BT) เป็นแรงดันในส่วนของกระป๋องจูนเนอร์ เพื่อให้จูนเนอร์ทำงานถ้าไม่มีแรงดันตรงจุดนี้ จูนเนอร์ก็ไม่ทำงาน

4. แรงดันไฟเลือกแบนด์ (BL,BH,BU Band Select) 3. แรงดันไฟ AGC เป็นแรงดันไฟเพื่อควบคุมอัตราขยายของจรอาร์เอฟแอมปลิฟาย โดยอัตโนมัติคือ ถ้าเครื่องรับรับสัญญาณเข้ามาน้อย แรงดันไฟ AGC จะไปบังคับให้จูนเนอร์ได้สัญญาณได้มากขึ้น แต่ถ้าเครื่องรับรับสัญญาณเข้ามามาก แรงดันไฟ AGC จะไปบังคับให้จูนเนอร์ได้สัญญาณได้น้อยลง 4. แรงดันไฟเลือกแบนด์ (BL,BH,BU Band Select) เนื่องจากย่านความถี่มี 3 ย่านใหญ่ๆคือ VHF แบนด์ต่ำ (BL) VHF แบนด์สูง(BH) UHF (BU)

ซึ่งในการเลือกแบนด์แต่ละครั้ง จะต้องมีแรงดันไฟเลือกแบนด์ 12 V เกิดขึ้นทุกครั้งในการเลือกแบนด์แต่ละครั้ง โดยมีทรานซิสเตอร์ Q101 ,Q102,Q103 ทำหน้าที่เป็นสวิตช์ตัดต่อไฟเลือกแบนด์ 12 V 5. แรงดันไฟจูน(Tuning Voltage:BT) เป็นแรงดันไฟเพื่อเข้าไปบังคับระบบการจูนของกระป๋องจูนเนอร์ โดยแรงดันไฟจูนเนอร์จะอยู่ในช่วง 0 – 30 V ซึ่งแต่ละช่องสถานีจะมีแรงดันไฟไม่เท่ากัน 6. แรงดันไฟ AFT (Automatic Fine Tumming) เป็นแรงดันไฟเพื่อให้โลคอลออสซิลเลเตอร์ ผลิตความถี่ได้อย่างถูกต้องตลอดเวลา

7. ขาเอาท์พุทสัญญาณไอเอฟ(IF OUTPUT) เป็นขาที่ส่งสัญญาณไอเอฟที่ได้จากจูนเนอร์ส่งไปยังวงจรวิดีโอต่อไป

จบการนำเสนอ

กระป๋องจูนเนอร์จะเริ่มต้นทำงานได้ ต้องได้รับคำสั่งการทำงานจะไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อให้จูนเนอร์เริ่มกระบวนการจูนหาสถานีที่ต้องการเมื่อได้รับสัญญาณที่ต้องการแล้ว จะเรียกว่าสัญญาณ IF แล้วส่งสัญญาณ IF ออกไปที่วงจรขยายสัญญาณ IF เพื่อเพิ่มความแรงของสัญญาณ และต้องมีการกำจัดสัญญาณรบกวน ก่อนที่จะถูกส่งไปยังภาคอื่นๆต่อไป