วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
ระเบียบสารบรรณ สำเนาคู่ฉบับ สำเนา ชั้นความเร็ว ด่วน ด่วนมาก ด่วนที่สุด
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (กลุ่มงานคอมพิวเตอร์)
โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/07/49.
NetLibrary จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ.
Library Literature & Information Science Full Text
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
การเขียนข่าว.
ขั้นตอนการดำเนินงาน ฐานข้อมูล TCI
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
Online Public Access Catalog
การทบทวนวรรณคดีที่เกี่ยวข้อง THE LITERATURE REVIEW
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
Seminar in computer Science
บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
โดย นางสาวพรทิพย์ คำกายปรง
ฐานข้อมูลราชกิจจานุเบกษา
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
สื่อประกอบการเรียนการสอน การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
วิเคราะห์และสร้างสรรค์สารสนเทศ (Information Analysis and Creativity)
Searching for Related Literature
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
การสืบค้น ฐานข้อมูล กลุ่มงานบริการสารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การเขียนอ้างอิง.
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
หนังสืออ้างอิง.
ส่วนการทะเบียนทั่วไป
กระบวนการค้นหาสารสนเทศ
หนังสืออ้างอิง (Reference Books)
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน การรวบรวมใบความรู้เป็นรูปเล่ม
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (5) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
การอ้างอิง วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
หนังสือภายใน และ หนังสือภายนอก
1. กอง/สำนัก/เขต/ศูนย์ ออกหนังสือถึง 1 หน่วยงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
โดย ประภาศรี ฟุ้งศรีวิโรจน์ บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 23/03/50.
แนวคิดในการทำวิจัย.
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
หลักเกณฑ์การเรียงบรรณานุกรม
รายงานการศึกษาค้นคว้า
MDCONSULT โดย สุวรรณ สัมฤทธิ์ งานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด งานห้องสมุดกรมการแพทย์ สำนัก พัฒนาวิชาการแพทย์ ปรับปรุงล่าสุด 28/04/51.
การอ้างอิงผลงานของผู้อื่น รศ. ดร. ยุพิน เตชะมณี
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การใช้งานฐานข้อมูล Full Text โครงการให้บริการฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น (E-Journal) สำหรับกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย โดย.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
สื่อประกอบการเรียนการสอน วิชา ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง
การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
รูปแบบรายงาน.
Knovel E-Books Database.
ระบบงานสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ สารบรรณโรงเรียน(รับ-ส่งหนังสือ)
หนังสือที่ให้เรื่องราว ข้อเท็จจริง ต่าง ๆ มีการเรียงลำดับ อย่างเป็นระบบ และมี เครื่องมือช่วยค้นที่ดี ทำ ให้สะดวก และรวดเร็วในการค้น.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การเขียนรายงาน.
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
ScienceDirec t จัดทำโดย ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุ รักษ์
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
นางสาวอัมพร ไชยสุริยา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
Introduction EndNote เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลทางบรรณานุกรมที่ได้มาจากการบันทึกข้อมูลด้วยตนเอง การสืบค้นและถ่ายโอน (Import) ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น การอ้างอิง วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น

ประเภทของการอ้างอิง 1. การอ้างอิงในส่วนเนื้อเรื่อง (In-text Citation) (นาม-ปี) ระบุแหล่งที่มาของข้อมูล: ผู้แต่ง ปีที่พิมพ์ และเลขหน้า 2. การอ้างอิงในส่วนท้ายเล่ม (Reference) - รวบรวมรายการอ้างอิงในส่วนเนื้อเรื่องมาจัดพิมพ์ เรียงลำดับอักษรของชื่อผู้แต่ง โดยระบุที่มาของ แหล่งข้อมูลอย่างละเอียด ***นำการอ้างอิงในส่วนเนื้อเรื่องทุกรายการมาพิมพ์ บรรณานุกรม***

หลักเกณฑ์การลงผู้แต่ง ระบบนาม - ปี ตัด ชื่อคำหน้าชื่อ (เช่น นาย/นางสาว) ตัด ตำแหน่งทางวิชาการ ( เช่น ผศ. รศ.) ยศ (เช่น พล. อ.) คง บรรดาศักดิ์ (เช่น มรว. คุณหญิง) ชาวต่างชาติ ให้พิมพ์เฉพาะชื่อสกุล

หลักเกณฑ์การลงปีที่พิมพ์ ระบบนาม - ปี พ. ศ. ค.ศ. ตัด ม.ป.ป. n.d. ไม่ทราบปี

หลักเกณฑ์การพิมพ์ชื่อผู้แต่งในบรรณานุกรม ตัด ชื่อคำหน้าชื่อ (เช่น นาย/นางสาว) ตัด ตำแหน่งทางวิชาการ ( เช่น ผศ. รศ.) ยศ (เช่น พล. อ.) กลับ บรรดาศักดิ์ (เช่น มรว. คุณหญิง) เช่น แม้นมาศ ชวลิต, คุณหญิง ชาวต่างชาติ พิมพ์ชื่อสกุล, อักษรย่อชื่อต้น อักษรย่อชื่อกลาง (ถ้ามี) เช่น Gibson, E. J. หน่วยงาน ให้ลงชื่อหน่วยงานใหญ่ ตามด้วย หน่วยงานรอง เช่น กระทรวงศึกษาธิการ. กรมการศึกษนอกโรงเรียน.

หลักเกณฑ์การพิมพ์สถานที่พิมพ์ในบรรณานุกรม ระบุ พิมพ์ชื่อเมืองที่พิมพ์หนังสือ ไม่ทราบสถานที่พิมพ์ ม.ป.ท. n.p.

หลักเกณฑ์การพิมพ์สำนักพิมพ์ในบรรณานุกรม ใช้ตัวย่อ ม.ป.พ. n.p. ไม่ทราบสำนักพิมพ์ ตัดคำว่า สำนักพิมพ์ ห้างหุ้นส่วน ออก ลงชื่อโรงพิมพ์ เช่น โรงพิมพ์คุรุสภา โรงพิมพ์