การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Introduction to C Introduction to C.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ครั้งที่ 8 Function.
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
การรับค่าและแสดงผล.
Principles of Programming
Principles of Programming
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
คำสั่งควบคุมการทำงาน
ตัวแปรชุด.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 6: Function.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
เครื่องนักศึกษา  c:\appserv\www\ชื่อนักศึกษา\ชื่อไฟล์.php
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมการคำนวณพื้นที่วงกลม
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
บทที่ 9 การทำงานกับเลข จำนวน. เลขจำนวนเต็ม $a = 1234;// รูปแบบ เลขฐานสิบ $b = -123;// รูปแบบเลขฐานสิบ $c = 0123;// รูปแบบเลขฐาน แปด $d = 0x1A;// รูปแบบ.
การเขียนโปรแกรมแสดงผลข้อมูล
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
คำสั่งเงื่อนไข (Condition Statement)
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
L/O/G/O ฟังก์ชั่นการรับและ แสดงผล และฟังก์ชั่นทาง คณิตศาสตร์
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น ฟังก์ชั่น printf ฟังก์ชั่นนี้เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ในการแสดงผลออกทางหน้าจอ ฟังก์ชั่นนี้มีชื่อเต็มว่า print format ค่าที่ส่งเข้าไปในฟังก์ชั่นมีสองส่วน - ส่วนแรก เรียกว่า สตริงฟอร์แมต เช่น %d ,%f จะควบคุมลักษณะการแสดงผล - ส่วนที่สอง เรียกว่า ค่าคงที่ หรือตัวแปรที่จะให้แสดงผล

การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น รหัสแบ็กสแลช รหัส ผลที่ได้ \n \t \xhh \a \\ ให้ขึ้นบรรทัดใหม่ ให้เว้น tab เป็นระยะ 8 ช่วง แสดงตัวอักษรเมื่อ hh เป็นเลขฐานสิบหก ส่งเสียงบีป เครื่องหมายเครื่องหมายแบ็กสแลช

การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น #include <stdio.h> int main() { printf(“Welcome to TN turbo C \n”); printf(“Triamudomsuksa school of the north \n”); printf(“C Programming \n”); }

ผลการรันโปรแกรม ถ้าไม่ใส่ \n Welcome to TN turbo C Triamudomsuksa school of the north C Programming ผลการรันโปรแกรม ถ้าไม่ใส่ \n Welcome to TN turbo C Triamudomsuksa school of the north C Programming

ตัวแปร การที่เราต้องการให้โปรแกรมรับข้อมูลจากผู้ใช้แล้วมาเก็บไว้ หรืออาจมีการคำนวณและเก็บผลลัพธ์ เราจะต้องสร้างตัวแปรสำหรับเก็บข้อมูล ในการประกาศตัวแปร จะต้องเป็นไปตามกฎการตั้งชื่อ ถ้าชื่อตัวแปรยาวกว่า 63 ตัว โปรแกรมจะรับรู้เพียง 63 ตัวเท่านั้น ถ้าตัวแปรมีมากกว่า 1 ตัว จะใช้เครื่องหมาย ; รูปแบบการประกาศตัวแปร คือ ประเภทของตัวแปร ชื่อตัวแปร ; int age; float grade;

การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น รหัสควบคุมการพิมพ์ เครื่องหมาย การใช้งาน %d พิมพ์จำนวนเต็มฐาน 10 %u พิมพ์เลขจำนวนเต็มไม่มีเครื่องหมาย %f พิมพ์เลขทศนิยม %e พิมพ์เลขจำนวนจริงในรูปแบบเลขยกกำลัง %c พิมพ์ตัวอักษร ตัวดียว %s ใช้พิมพ์ชุดตัวอักษร %% ใช้พิมพ์เครื่องหมาย % %o ใช้พิมพ์เลขฐาน 8 %x ใช้พิมพ์เลขฐานสิบหก

การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น ฟังก์ชั่น scanf #include<stdio.h> int x; int main() { printf(“Put your number”); scanf(“%d”,&x); printf(“Your number is %d,x); }

ตัวอย่างการรันโปรแกรม Put your number 24 ======= ตัวเลขใส่แบบสุ่ม เมื่อกดปุ่ม Enter Your number is 24

การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น ฟังก์ชั่น scanf #include<stdio.h> float grade; void main() { printf(“Put your grade number”); scanf(“%f”,&grade); printf(“Your Grade number are %f,grade); }

ตัวอย่างการรันโปรแกรม Put your grade number 3.49 ======= ตัวเลขใส่แบบสุ่ม เมื่อกดปุ่ม enter Your Grade number are 3.49 ใช้ float เมื่อเป็นทศนิยม

โปรแกรมอินเตอร์แรคทีฟ (Interactive program) โปรแกรมอินเตอร์แรคทีฟ เป็นโปรแกรมที่มีการตอบสนองการทำงานภายหลังที่ผู้ใช้ทำการป้อนค่าอินพุตเข้าไป เช่น #include<stdio.h> #inchude<conio.h> << ฟังชั่น scanf อยู่ใน ไดเรคทีฟ conio.h int h ,factor; int main() { printf(“put you factor number ”); scanf(“%d”,&h); factor=h*h; printf(“Number of factor = %d”,factor); getch(); }

ผลการรันโปรแกรม put you factor number 7 หลังจากกด Enter Number of factor = 49 << ผลมาจาก factor = h*h