วิวัฒนาการของม้า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

โดยเด็กชายพงษ์ธร พูลสวัสดิ์
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
ด.ญ.ไพลิน จงจำรัสพันธ์ ม.2/3
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
ความหลากหลายของสัตว์
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
นริศ ภูมิภาคพันธ์ ชวลิต วิทยานนท์
ผลกระทบจากวิกฤตการโลกร้อน
เครื่องดนตรีไทย นางสาวสุชาวดี เจริญธรรม ม.4/1 เลขที่ 20.
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
การเจริญเติบโตของมนุษย์
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ตัวเลขไทย.
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
สมัยโชมอน.
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอ สามร้อยยอด
สิงโต ถิ่นกำเนิด    พบในทวีปอัฟริกา ในทีปเอเชียยังคงมีอยู่บ้างเช่นบางแห่งในประเทศ อินเดียแถบตะวันตก ลักษณะ    สิงโตอัฟริกา และสิงโตอินเดียไม่มีลักษณะที่แตกต่างกันไม่มีลายตามตัวอย่างเสือ.
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
วิวัฒนาการของวาฬ Whale evolution.
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
วิวัฒนาการของม้า.
วิวัฒนาการ วิวัฒนาการของมนุษย์....
วิวัฒนาการของพะยูน.
EVOLUTION OF FROGS..
วิวัฒนาการของม้า.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
ระบบฐานความรู้ “สัตว์ป่าสงวน”
ดอกกุหลาบ.
หมีขั้วโลก.
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
พลศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4 การเคลื่อนไหวร่างกายขั้นพื้นฐาน
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
863封面 ทองคำ เขียว.
13 อันดับ สัตว์น้ำจืดที่น่ากลัวที่สุดในโลก
ด้วงกว่าง.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ด. ญ. ปวันรัตน์ ตันกาศ เลขที่ 20 ม.1/2 ถัดไ ป.  จากหลักฐานรูปปั้นแมว มัมมี่แมว และ ภาพเขียนผนังเกี่ยวกับแมวแล้ว เราเชื่อว่าได้ มีการ  เลี้ยงแมวในอียิปต์
Effect of Protein Level on Performance and Carcass Quality of Crossbred Pigs (50% Large White X 50% Wild Boar) อินทร์ ศาลางาม วัชรพงษ์ วัฒนกูล ธีระพล.
ด.ญ.พรพิมล เทพปันไหว ม1/2 เลขที่5
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ เสนอ ครู ภัทรศยา เย็นเมือง โดย เด็กหญิง อนุสรา เนตรเจริญ เด็กหญิง ดาวเรือง ดับโศรก เด็กชาย อนุวัฒน์ นูแป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
ด.ญ.พชร แสงศักดิ์ ม.1/2 เลขที่.4
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
สัตว์ ถัดไป.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิวัฒนาการของม้า

วิวัฒนาการของม้า นักสัตวศาสตร์ได้จัดม้าไว้ในประเภทสัตว์กินพืชเป็นอาหาร และมีนิ้วเท้าเป็นจำนวนคี่ หรือเรียกตามศัพท์วิทยาศาสตร์ว่า พาริโซแดคติลา (Parissodactyla) ซึ่งมีลักษณะทั่วๆ ไป ดังนี้ มีจำนวนนิ้วของแต่ละเท้าเป็นเลขคี่ น้ำหนักตัวส่วนใหญ่จะตกลงบนนิ้วกลาง ซึ่งเป็นนิ้วที่ยาวที่สุด และจะเดินโดยใช้กีบหรือนิ้วเท้าเท่านั้น ส้นเท้าจะไม่แตะพื้น ริมฝีปากและฟันมีการพัฒนาให้มีรูปลักษณะที่เหมาะสมในการกินและบดเคี้ยวพืชเป็นอาหาร

มีหลักฐานจากฟอสซิล (Fossil) พบว่า ในสมัยโบราณมีสัตว์หลายชนิดที่เจริญเติบโต และพัฒนาการมาจากบรรพบุรุษของม้า แต่สัตว์เหล่านั้นหลายชนิดได้สูญพันธุ์ และล้มหายตายจากไปตามกฎเกณฑ์การอยู่รอดของธรรมชาติ คงเหลือเฉพาะสัตว์ตระกูลม้า วิวัฒนาการของสัตว์ชนิดนี้มีต้นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือในยุคอิโอซีน (Eocene) หรือประมาณ ๕๐ ล้านปีมาแล้ว บรรพบุรุษเก่าแก่ของม้าได้ถือกำเนิดขึ้นมาเป็นครั้งแรกมีขนาดตัวเท่าสุนัขจิ้งจอกหน้าตาคล้ายม้าในปัจจุบัน ขาหนีบมีนิ้วเท้า ๔ นิ้ว ขาหลังมี ๓ นิ้ว ลักษณะฟันบ่งชี้ว่า เป็นสัตว์ที่กินใบไม้เป็นอาหาร เรียกว่า ไฮราโคเธเรียม (Hyracotherium) และมีการค้นพบซากที่มีลักษณะคล้ายกันในแถบยุโรป เรียกว่า อิโอฮิปปุส (Eohippus)

ในยุคโอลิโกซีน (Oligocene) หรือประมาณ ๒๘ ล้านปีที่ผ่านมา ได้มีวิวัฒนาการของม้ามาเป็นลำดับ โดยมีขนาดตัวโตขึ้น เรียกว่า เมโซฮิปปุส (Mesohippus) แต่ยังกินพืชเป็นอาหาร ต่อมาในยุคไมโอซีน (Miocene) มีวิวัฒนาการไปเป็นพาราฮิปปุส (Parahippus) และไฮโปฮิปปุส (Hypohippus) การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของบรรพบุรุษของม้าในยุคนี้ คือ ฟัน โดยเปลี่ยนเป็นฟันแข็งแรงเหมาะสำหรับการบดเคี้ยวหญ้ามากขึ้น และกินหญ้าเป็นอาหารแทนใบไม้ บรรพบุรุษของม้าในกลุ่มไฮโปฮิปปุส (Hypohippus) ได้อพยพย้ายถิ่นที่สำคัญไปอยู่แถบทวีปยุโรป และเอเชียด้วย

ต่อมาเมื่อประมาณ ๔ ล้านปีที่แล้ว ในยุคพลิโอซีน (Pliocene) บรรพบุรุษของม้าในยุคนี้มีหน้าตาคล้ายลูกม้าในปัจจุบัน ม้าในยุคนี้ เรียกว่า พลิโอฮิปปุส (Pliohippus) เป็นยุคที่ม้าเปลี่ยนจากสัตว์ที่มีนิ้วเท้า ๓ นิ้ว ไปเป็นนิ้วเดียว หรือกีบเดียว เนื่องจากต้องปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในการหากินจากป่า ที่มีพื้นดินอ่อนมาเป็นทุ่งหญ้า ที่มีพื้นแข็ง และกินหญ้าเป็นอาหาร

วิวัฒนาการขั้นต่อมา เป็นม้าในปัจจุบันซึ่งเรียกว่า อิควุส (Equus) เพิ่งปรากฎเริ่มมีมาเพียงประมาณ ๒ ล้านปีที่แล้ว ซึ่งเข้าสู่ยุคเพลอิสโตซีน (Pleistocene) ม้าป่าในยุคนี้มีหลักฐาน จากรูปวาดบนฝาผนังถ้ำ ซึ่งมีรูปลักษณะเหมือนม้าในปัจจุบัน แต่มีสีเหลืองน้ำตาล หัวใหญ่ ขนที่แผงคอจะสั้น และตั้งตรง ต่างกับม้าปัจจุบันที่มีขนแผงยาวปรกลงมา ม้าในปัจจุบันมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า อิควุส คาบอลลุส (Equus caballus)

แนวโน้มในการพัฒนาที่แน่นอนตลอดระยะเวลาของวิวัฒนาการของม้าที่เห็นได้ชัดคือ ขนาดตัวใหญ่ขึ้น ขายาวขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระดูกนิ้วเท้า ซึ่งทำให้ม้ามีความสามารถในการวิ่งได้เร็วกว่าสัตว์ชนิดอื่น ในขณะเดียวกันนิ้วกลางก็มีการเพิ่มขนาด และลดจำนวนนิ้วเท้าลง จนเหลือเพียงนิ้วเดียว และเปลี่ยนแปลงเป็นกีบ ฟันม้ามีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจคือ อิโอฮิปปุส (Eohippus) บรรพบุรุษม้าในยุคอิโอซีน (Eocene) ที่มีฟันติดต่อกันตลอด ได้เปลี่ยนแปลง โดยค่อยๆ มีช่องว่างเกิดขึ้นระหว่างฟันหน้า และฟันด้านข้าง ซึ่งทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหารได้ดียิ่งขึ้น

รายชื่อผู้จัดทำ นางสาวจุฬาพรรณ จอมศิลป์ เลขที่ 10ก นางสาวจุฬาพรรณ จอมศิลป์ เลขที่ 10ก นางสาวชนิกานต์ เผื่อนพินิจ เลขที่ 11ก นางสาวณัฏฐฤทธิ์ตา สุขสำราญ เลขที่ 13ก นายจิรากร ไพชยนต์วิจิตร เลขที่ 8ข นางสาวสุรีฉาย สุขเกษม เลขที่ 18ข