หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ
หลักการจัดการแบบต่างๆ 1.แบบคลาสสิค 2. การจัดการเชิงพฤติกรรม 3. การจัดการเชิงปริมาณ 4. การจัดการร่วมสมัย
ความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ในการบริหารธุรกิจ ใช้หลักเศรษฐศาสตร์เป็นพื้นฐานการตัดสินใจทางธุรกิจ ทราบภาวะเศรษฐกิจส่วนรวมที่มีผลกระทบต่อธุรกิจ รู้จักการพยากรณ์ทางเศรษฐกิจและธุรกิจ ตัดสินใจทางธุรกิจอย่างมีหลักเกณฑ์ มีเครื่องมือได้ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
วัตถุประสงค์ในการบริหารธุรกิจ 1. การอยู่รอด 2. การเจริญเติบโต
วัตถุประสงค์ของการบริหารธุรกิจตามแนวคิดของดรักเกอร์ 1.ส่วนครองตลาด 2. นวัตกรรม 3. ผลิตภาพ 4. ความสามารถในการทำกำไร 5. ฐานะทางการเงิน 6. ความรับผิดชอบทางสังคม 7. ผลการปฏิบัติงานและการพัฒนาระดับบริหาร 8. ผลการปฏิบัติงานและการพัฒนาระดับบริหาร (Peter F.Drucker)
ความหมายของการบริหารธุรกิจ เป็นกระบวนการเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กร ด้วยการวางแผน การจัดองค์กร การนำและควบคุมมนุษย์ สภาพทางกายภาพ การเงิน สารสนเทศ และทรัพยากรอื่น ขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
กระบวนการบริหาร เป้าหมายองค์การ ทรัพยากรเงิน สารสนเทศ 1.การวางแผน ทรัพยากรมนุษย์ สารสนเทศ ทรัพยากรทางกายภาพ ทรัพยากรเงิน 2.การจัดองค์การ 1.การวางแผน 3.การนำ 4.การควบคุม เป้าหมายองค์การ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหาร 1.เทคโนโลยี 2. เศรษฐกิจ 3. สังคม 4. การเมือง
หลักการจัดการแบบคลาสสิค 1.กลุ่มแนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ เน้นประสิทธิภาพการผลิตในระดับปฏิบัติการ การเพิ่มผลผลิต 2.กลุ่มประสิทธิภาพการจัดการเชิงระบบ เน้นหน้าที่ของผู้บริหาร และกระบวนการบริหาร 3.กลุ่มแนวคิดการจัดการเชิงทฤษฎีองค์การ เน้นประสิทธิภาพการบริหารจากการจัดโครงสร้างองค์การอย่างเป็นระบบ
หลักการจัดการตามแนวคิดทฤษฎีเชิงพฤติกรรม มุ่งเน้นปัจจัยมนุษย์ในการจัดการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้สูงขึ้น สภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลง จึงต้องใช้วิธีการวิจัยพฤติกรรมของมนุษย์มาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อเพิ่มผลิตภาพขององค์กร
หลักการจัดการเชิงปริมาณ มุ่งเน้นการนำเอาคณิตศาสตร์ สถิติ และสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิต เช่น การใช้ทฤษฎีแถวคอย เป็นต้น
หลักการจัดการร่วมสมัย ปัจจัยนำเข้า - ทรัพยากร - มนุษย์ - เงินทุน - สารสนเทศ กระบวนการแปลงสภาพ - การผลิต - การจัดการ - การดำเนินงานด้าน เทคโนโลยี ปัจจัยนำออก - สินค้า - กำไร ขาดทุน - พฤติกรรมการทำงาน ข้อมูลย้อนกลับ