เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา “ การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มสถาบัน ที่กำหนดตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และบทบาทของนักวิชาชีพไทยในต่างประเทศที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาอุดมศึกษา ” โดย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา การสัมมนา “ ก้าวต่อไปของความร่วมมือระหว่าง สถาบันอุดมศึกษาไทยและนักวิชาชีพไทยในต่างประเทศ ” 7 ก.ค. 2553 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ขอบเขตการบรรยาย การขยายตัวของสถาบันอุดมศึกษา การจัดการกับความหลากหลายของอุดมศึกษา : อุดมศึกษา 4 กลุ่ม บริบทใหม่ของนโยบาย – มาตรฐานอุดมศึกษา 4 กลุ่ม บทบาทของนักวิชาชีพไทย
การขยายตัวของสถาบันอุดมศึกษา จำนวนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 1 ม.รัฐ 79 แห่ง ม.เอกชน 69 แห่ง วชช. 19 แห่ง รวม 167 แห่ง นศ.กว่า 2.0 ล้านคน อาจารย์ 100,000 คน จำนวนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
การเกิดของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ (2547) กำหนดให้ มหาวิทยาลัยราชภัฏ คือ มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้าง พลังปัญญาของแผ่นดิน มหาวิทยาลัยราชภัฏมีจำนวน 40 แห่ง พัฒนามาจาก สถาบันราชภัฏ – วิทยาลัยครู มีสถานที่ตั้งกระจายอยู่ทั่วประเทศ หรือ ทุกๆ 2 จังหวัด จะมี 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
การเกิดของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (2548) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อส่งเสริมวิชาชีพชั้นสูงที่เน้นการปฏิบัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพัฒนามาจาก สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และวิทยาลัยเทคโนโลยี ที่กระจายทั่วประเทศกว่า 40 แห่ง แต่รวมกลุ่มเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง
การเกิดของวิทยาลัยชุมชน (Community Colleges) ในอดีต รัฐบาลมีนโยบายให้นำหลักการของวิทยาลัยชุมชนจาก USA มาปรับใช้กับระบบการศึกษาไทย ในปี 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติให้จัดตั้งวิทยาลัยชุมชน 10 แห่ง จากการปรับเปลี่ยนวิทยาลัยการอาชีพ 2 แห่ง และจัดตั้งใหม่ อีก 8 แห่งในจังหวัดที่ไม่มีสถาบันอุดมศึกษา ปัจจุบันมีวิทยาลัยชุมชน 19 แห่ง
การจัดการกับความหลากหลายของอุดมศึกษา: อุดมศึกษา 4 กลุ่ม 2 ตามแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่ 2 มหาวิทยาลัยวิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเฉพาะทาง มหาวิทยาลัย 4 ปี มหาวิทยาลัยศิลปศาสตร์ วิทยาลัยชุมชน
เป้าหมายของอุดมศึกษา 4 กลุ่ม ปริญญา % อ.ปริญญาเอก พันธกิจ ม.วิจัย BMDD+ 100 การแข่งขัน (Global Prime Mover) ม.เฉพาะทาง BMD 70 อุตสาหกรรม ภาคการผลิตจริง (Real Sector) ม. 4ปี BM 50 ท้องถิ่น วชช. AS/ 10 ชุมชน
ศักยภาพด้านการวิจัย
สกอ. ได้จัดทำ “โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ” ครม.มีมติเห็นชอบเมื่อ 6 ก.ค. 52 ให้บรรจุไว้ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (โครงการ SP2) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2555 โดยจะให้ความสำคัญกับ การเพิ่มสมรรถนะการผลิตผลงานและบุคลากรวิจัยของกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยให้สูงขึ้น ควบคู่กับ การส่งเสริมการวิจัยในมหาวิทยาลัยทุกกลุ่มในวงกว้าง แต่เนื่องจากยังไม่ได้รับการสนับสนุน จึงได้เสนอขอตั้งงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2554 ไว้ 2,000 ล้านบาท
วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อยกระดับมหาวิทยาลัยไทยโดยรวมให้มีศักยภาพด้านการวิจัยที่สูงขึ้น ยกระดับมหาวิทยาลัยที่มีศักยภาพด้านการวิจัยของประเทศ สู่มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติที่มีขีดความสามารถระดับโลก (World-Class University) 2. เพื่อผลิตกำลังคนระดับสูงในสาขาวิชาต่างๆที่สามารถตอบสนอง ต่อการพัฒนาภาคผลิต (Real Sector) ทั้งภาคอุตสาหกรรม และระบบนวัตกรรม ซึ่งนำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศในเวทีระดับนานาชาติ 3. เพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการศึกษา การวิจัยพัฒนา และการฝึกอบรมนานาชาติในภูมิภาค (Regional Education Hub)
เป้าหมาย 1. มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ (9 แห่ง) มีอันดับในมหาวิทยาลัยโลกดีขึ้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2. มหาวิทยาลัยอีก 69 แห่ง ที่มิได้เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ได้รับ การเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการวิจัยให้สูงขึ้นโดยวัดจากงานวิจัย
บริบทใหม่ของนโยบาย-มาตรฐานอุดมศึกษา 4 กลุ่ม 3 การกำกับระบบอุดมศึกษา ...... แนวคิด การกำกับด้วย ....... งบประมาณแผ่นดิน การกำกับด้วย ....... เกณฑ์มาตรฐาน QA การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การกำกับด้วย ....... นโยบาย การกำกับด้วย ....... แรงจูงใจด้านต่างๆ
บทบาทนักวิชาชีพไทย 4 การวางแผน กำหนด เป้าหมาย และยุทธศาสตร์การปฏิรูป อุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง จริงจัง จริงใจ ออกแบบ จัดระบบงาน ระบบข้อมูล เพื่อการปรับระบบ การทำงานของ สกอ. ระบบการจัดสรรงบประมาณ และการจัดระบบ การประเมินศักยภาพการวิจัยในระบบคุณภาพ สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะ โครงการสำคัญเช่น มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
สวัสดี