นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

ที่เราต้องเจ็บปวดกับความรักนะ
ส่งการบ้านในระบบ E-laering
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทเรียนโปรแกรม Power Point
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
ข้อคิดสำหรับการไตร่ตรอง "ศีลล้างบาปทำให้ชีวิตฉันเปลี่ยนแปลงไป"
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
ศาสนาเชน นักอหิงสาต่อความศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต
พระพุทธศาสนาในฟูหนำ ( พศต )
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
ความเชื่อในพระพุทธศาสนาในท้องถิ่นที่มีต่อสุขภาพกาย
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ กับความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตายของชาวอียิปต์
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Arts in Pali and Sanskrit Chulalongkorn University วัตถุประสงค์
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
การเพิ่มคำ.
การใช้เวลาว่างและนันทนาการ
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
บทที่ 5 ทรัพย์.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
ประวัติพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เกิดหลังศาสนาพราหมณ์ ๖๐๐ ปี ก่อนศาสนาคริสต์ ๕๔๓ ปี ก่อนศาสนาอิสลาม ๑,๑๒๔.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
อารมณ์และความต้องการของวัยรุ่น
พันจ่านักเรียน รุ่นที่ ๓/๕๖ พื้นที่ พุทธมณฑล
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
สาระการเรียนรู้คริสต์ศาสนา
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
วิธีการประกาศอย่างเกิด...
ดอกกุหลาบ.
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
My school.
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
ครั้งที่ ๒.
บทอ่านจากจดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวโครินทร์ฉบับที่ 1
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
พระเวสสันดรชาดก.
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
การรู้สัจธรรมของชีวิต
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
จักรยาน.
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิด ของพระเยซูเจเราเฉลิม ฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม คำว่า คริสต์มาส เป็นคำทับ ศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas.
ศาสนาคริสต์.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
จำ Remember - Knowledge เข้าใจ Understanding ประยุกต์ Application วิเคราะห์ ( ความรู้ ) Analysis สังเคราะห์ ( เป็นความรู้ ใหม่ ) Synthesis 6 ขั้น.
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
จัดทำโดย ด.ญ. ประภาศิริ เซ็นแก้ว กลุ่ม 13 เลขที่ 24
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ครูจงกล กลางชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรม 2.
เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
ครูจงกล กลางชล 1. 2 สรุปแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้านการเมือง – การปกครองโดยใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
ประเทศสิงคโปร์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒ โครงสร้างพระไตรปิฏก/คำศัพท์ทางพระพุทธศาสนา สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ อ.วรรณดี จิตต์จนะ จัดทำโดย ด.ช. กันต์ปภพ รักแก้ว เลขที่ 3 ด.ญ.นันทิชา ชีพเมืองแมน เลขที่ 24 ด.ช. สมศักดิ์ เจียมศรี เลขที่ 11 ด.ญ.วริศรา สมศรี เลขที่ 34 ด.ญ. อนิรุต มีณรงค์ เลขที่ 13 ด.ญ. ศุภรัตน์ ยะภักดี เลขที่ 35 ด.ญ. แสงนภา วงษ์ศรีดี เลขที่ 17 ด.ญ. อาภาวรรณ จันทาบ เลขที่ 40 ด.ญ. นลพรรณ พ่วงนาคพันธุ์ เลขที่ 23 ด.ญ. อารดา บุณเกียรติ เลขที่ 41 ด.ช.อุดมโชค กลิ่นระรวย เลขที่ 14 นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒

คำศัพท์ทางพระพุทธศาสนา อัตตา เป็นศัพท์ภาษาบาลี แปลว่า ตัวตน, ร่างกาย, รูปลักษณะ, ตัวเอง (ดูอัตภาพ) (ภาษาสันสกฤตใช้ อาตฺมัน) หมายถึงอาตมัน, วิญญาณ ตามทฤษฎีของผู้นับถือลัทธิว่าชีวิตเกิดขึ้นด้วยวิญญาณหรืออัตมัน ซึ่งชาวอินเดียทางภาคเหนือได้ยึดถือเช่นนั้น ในคัมภีร์อุปนิษัทอธิบายไว้ว่า อัตตาเป็นตัวตนเล็กๆ รูปร่างเหมือนคน อาศัยอยู่ในหัวใจเวลาปกติ และหนีออกจากร่างกายไปในเวลานอนหลับ หรือในเวลาสงบแน่นิ่ง เมื่ออัตตานั้นกลับมาสู่ร่างเหมือนเดิม ชีวิตและการเคลื่อนไหวจึงเกิดขึ้นเป็นไปตามเดิม ในเวลาตายอัตตาก็จะหนีออกจากร่าง ไปใช้ชีวิตในอมตะของตนเองวนเวียนไปอย่างนีโดยไม่มีสิ้นสุด แต่ทฤษฎีนี้พระพุทธศาสนาไม่ยอมรับทั้งหมด (นัยพจนา. บาลี-อังกฤษ ของสมาคมบาลีปกรณ์)

คำศัพท์ทางพระพุทธศาสนา อนัตตา หรือ อนัตตตา แปลว่า มิใช่อัตตา, มิใช่ตัวตน ไม่นิยมแปลว่า ไม่มีอัตตา หรือ ไม่มีตัวตน อนัตตา เป็นสามัญลักษณะ คือเกิดมีเสมอกันแก่สังขารทุกอย่าง อนัตตา ที่ได้ชื่อดังนี้เพราะมีลักษณะดังนี้ เป็นสภาพว่างเปล่า คือหาสภาวะที่แท้จริงไม่ได้ เพราะประกอบด้วยธาตุ ๔ เมื่อแยกธาตุออก สภาวะที่แท้จริงก็ไม่มี หาเจ้าของมิได้ คือไม่มีใครเป็นเจ้าของแท้จริง สงวนรักษามิให้เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ไม่อยู่ในอำนาจ คือไม่อยู่ในบัญชาของใคร ใครบังคับไม่ได้ เช่นบังคับมิให้แก่ไม่ได้ แย้งต่ออัตตา คือตรงข้ามกับอัตตา

ภาพประกอบการศึกษา