กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
นโยบาย สพฐ. ปี
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การบริหารงานมหาวิทยาลัย โดย ศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ

สภาพปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2548 สำรวจบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ได้ จำนวน 271,815 คน ได้รับการบริการทางการศึกษา จำนวน 16,928 คน คิดเป็นร้อยละ 6.23 ไม่ได้รับบริการจำนวน 254,887 คน คิดเป็นร้อยละ 93.71

สภาพปัญหาด้านการศึกษา ด้านอุบัติการณ์และสถิติของประชากรที่เป็นบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ไม่มี ระบบคัดกรอง และ เครื่องมือในการคัดกรอง ไม่มี หน่วยงานใด จะทำการ สำรวจ จัดเก็บสถิติ ประชากรกลุ่มนี้อย่างจริงจัง

สภาพปัญหาด้านการศึกษา ด้านแผนพัฒนาการศึกษา ไม่มี แผนพัฒนาการจัดการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม ไม่มี ระบบการบริหารจัดการทางการศึกษาที่สอดคล้อง ไม่มี ระเบียบ ระบุอัตรากำลังครูผู้สอนต่อผู้เรียนที่เป็นบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ที่เหมาะสม

สภาพปัญหาด้านการศึกษา ด้านแผนพัฒนาการศึกษา ไม่มี แผน “การเพิ่ม” แผน “การพัฒนา” และ แผน “การบรรจุ” อัตรากำลังบุคลากรครูผู้สอนบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ไม่มี ระเบียบวิธีปฏิบัติ ในการประเมินผลงานเพื่อความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ของ บุคลากรวิชาชีพครู ที่มี “ภาระงาน” ในการสอนบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ไม่มี แผนการจัดสรรงบประมาณ ให้โรงเรียนทั่วไป

สภาพปัญหาด้านการศึกษา ด้านแผนพัฒนาการศึกษา ไม่มี “กลไก” หรือ “หน่วยงาน” ทางการศึกษา ใน การช่วยเหลือบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ที่ยากจน ซึ่งไม่สามารถจะ “ดูแล” บุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ได้ แม้จะมีโรงเรียนใกล้บ้าน ไม่มี การกำหนด แผน และ ออก ระเบียบวิธีปฏิบัติ ใน การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการศึกษา ที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาของกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้

สภาพปัญหาด้านการศึกษา 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา สถานศึกษาที่จัดการศึกษาเรียนร่วมสำหรับบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้มีจำนวนจำกัด และ ไม่ครอบคลุมทุกระดับการศึกษา บุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ระดับปานกลาง และ ระดับรุนแรง ไม่สามารถได้รับประโยชน์จากการเรียนร่วม ไม่ได้รับโอกาสทางการศึกษา

สภาพปัญหาด้านการศึกษา 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา บุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ที่ศึกษาในระบบการศึกษานอกโรงเรียน และการศึกษาเอกชน ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ค่าใช้จ่ายทางการศึกษา บุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ส่วนใหญ่ยังไม่มี โอกาสทางการศึกษาใน สายการอาชีพ

สภาพปัญหาด้านการศึกษา 4. ด้านเจตคติ ความรู้ ความเข้าใจ ผู้ปกครองไม่ยอมรับ ไม่เปิดเผย ผู้ปกครอง และ ผู้เกี่ยวข้อง ขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขาดการ “มีส่วนร่วม” ครู/ผู้บริหารสถานศึกษาบางส่วน ยัง ไม่มี เจตคติที่ดี ต่อ บุคคลออทิสติกและครอบครัว

สภาพปัญหาด้านการศึกษา 4. ด้านเจตคติ ความรู้ ความเข้าใจ ไม่มี บุคลากร ที่มีความรู้ด้านการคัดกรอง ทำให้ไม่รู้ว่าเป็นบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ไม่มี แหล่ง ที่จะ สร้างและศึกษา “องค์ความรู้ใหม่” หรือ ผลิต “นวัตกรรม” แม้จะรู้ว่าเป็นบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ก็ “จัดการ” ไม่ได้

สภาพปัญหาด้านการศึกษา 5. ด้านการจัดการศึกษา ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ส.พ.ฐ.) - ไม่มี “ห้องสอนเสริมการศึกษาพิเศษ” ในโรงเรียนเรียนร่วมทั้งของรัฐและเอกชน -ขาดแคลนบุคลากรครูผู้สอนและการจัดสัดส่วนครูต่อผู้เรียนไม่เหมาะสม

สภาพปัญหาด้านการศึกษา 5. ด้านการจัดการศึกษา การศึกษานอกระบบ (ก.ศ.น.) ไม่มี แผน ระบบ ระเบียบ ตลอดจน กระบวนการในการบริหารจัดการทางการศึกษา ที่ สอดคล้อง ในส่วน ของ การศึกษานอกโรงเรียน ไม่มี ระเบียบ วิธีการงบประมาณ ในการจัดจ้าง ครูอาสา

สภาพปัญหาด้านการศึกษา 5. ด้านการจัดการศึกษา ระดับอาชีวะศึกษา (ส.อ.ศ.) ไม่มี สถานศึกษา ที่จะเป็นแหล่งให้ บริการการศึกษาทางสายอาชีพ ไม่มี บุคลากร ที่เชี่ยวชาญในการ “สอน” และ “ฝึก” อาชีพ ไม่มีหลักสูตรการอาชีพที่สอดคล้อง

สภาพปัญหาด้านการศึกษา 5. ด้านการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) - ไม่มี ระบบ/กลไก/หน่วยงาน ในการให้บริการช่วยเหลือนิสิตและนักศึกษา ที่เป็นบุคคลออทิสติก - ไม่มี หลักสูตรที่ยืดหยุ่นและหลากหลาย - ไม่มี ระบบการรับเข้านิสิต/นักศึกษาที่ สอดคล้อง และยืดหยุ่น

สภาพปัญหาด้านการศึกษา 5. ด้านการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) - ขาด บุคลากรวิชาชีพแพทย์เฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง - ขาดแคลน บุคลากรวิชาชีพนักบำบัดฯ - ขาด บุคลากรวิชาชีพครู/อาจารย์สายพันธุ์ใหม่ที่สอนบุคคลที่มีปัญหาการเรียนรู้ได้

แนวทางการแก้ไข 1.ด้านอุบัติการณ์และสถิติของประชากรที่เป็นบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ สร้าง ระบบคัดกรอง และ เครื่องมือในการคัดกรอง กำหนด ให้ ดำเนินการ สำรวจ และ จัดเก็บ สถิติประชากรออทิสติก ให้ครอบคลุมครบถ้วน

แนวทางการแก้ไข 1.ด้านอุบัติการณ์และสถิติของประชากรกลุ่มที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ให้ (ส.ก.อ.) และ (ส.พ.ฐ.) ร่วมกัน ดำเนินการ อบรมและพัฒนา บุคลากรเพื่อการคัดกรอง เน้น การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ กระตุ้นให้พ่อแม่ผู้ปกครอง สังคมชุมชน ยอมรับและมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ในชุมชนของตน

แนวทางการแก้ไข ด้านแผนพัฒนาการศึกษา จัดทำ แผนพัฒนาการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ประกาศ เป็น พันธะกิจของกระทรวงศึกษาฯ ที่จะ ดำเนินการ ให้ โรงเรียนทั่วไปใน ทุกสังกัด เปิดรับบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เข้าเรียน ให้ ครอบคลุม ทุกโรงเรียน ในทุกเขตพื้นที่การศึกษา

แนวทางการแก้ไข 2. ด้านแผนพัฒนาการศึกษา 2. ด้านแผนพัฒนาการศึกษา จัดทำ ระเบียบ และ คู่มือ การจัด “ห้องเรียนสอนเสริมการศึกษาพิเศษ” ส.พ.ฐ. และ ส.พ.ท. จัดทำ แผน อัตรากำลังบุคลากรครูผู้สอนบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ใน ห้องเรียนสอนเสริมการศึกษาพิเศษ กำหนดให้สัดส่วนระหว่างบุคลากรวิชาชีพครูผู้สอนและบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ผู้เรียน คือ 1:3-7 หรือ 2:10-15 สำหรับ “ห้องเรียนสอนเสริมการศึกษาพิเศษ

แนวทางการแก้ไข 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา การจัดการศึกษาในระบบ (ส.พ.ฐ.) - จัดตั้ง ห้องเรียนสอนเสริมการศึกษาพิเศษให้ครอบคลุมทุกโรงเรียนทั่วประเทศ ภายในระยะเวลา 4 ปีการศึกษา จากปีการศึกษา 2549-2553 -จัดทำ แผนงบสนับสนุนประมาณให้โรงเรียนทั่วไป เพื่อการจัดห้องเรียนและสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสื่อการเรียนการสอน โรงเรียนละ 40,000 บาทหรือ ตามความจำเป็น

แนวทางการแก้ไข 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา การจัดการศึกษาในระบบ (ส.พ.ฐ.) - จัดทำ ระเบียบวิธีปฏิบัติ ในการประเมินผลงานบุคลากรวิชาชีพครู ที่มี “ภาระงาน” ในการสอนบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ - กำหนด “ดัชนี” ชี้วัด ในการกำหนดและประเมินคุณภาพ/คุณสมบัติ/องค์ประกอบ/มาตรฐาน ของ ห้องสอนเสริการศึกษาพิเศษ

แนวทางการแก้ไข 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา การจัดการศึกษาในระบบ (ส.พ.ฐ.) - จัดตั้ง คณะกรรมการ ที่ประกอบด้วย ตัวแทน จากหน่วยงานภาครัฐ และตัวแทนองค์กรผู้ปกครอง ฯ จากภาคประชาชน จัดทำ หลักประกันคุณภาพ ของ “ห้องเรียนสอนเสริมฯ” - กำหนด คุณภาพ/คุณสมบัติ/มาตรฐาน/เกณฑ์/“ภาระงาน”/ กำหนดเกณฑ์ระเบียบ วิธีกาประเมิน “ค่าตอบแทน” และ ระเบียบวิธีการประเมินผลงานความก้าวหน้าทางวิชาการวิชาชีพของครูผู้สอนบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้

แนวทางการแก้ไข 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา การศึกษานอกระบบ (ก.ศ.น.) - จัดทำ แผนพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน สำหรับบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ - จัดทำ ระเบียบ วิธีการงบประมาณ ในการจัดจ้าง ครูอาสา - จัด งบประมาณสนับสนุนการจัดจ้างครูอาสาปีละ ไม่ต่ำกว่า จังหวัดละ 50 คน

แนวทางการแก้ไข 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา ระดับอาชีวศึกษา (ส.อ.ศ.) 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา ระดับอาชีวศึกษา (ส.อ.ศ.) - จัดตั้ง “แผนกการอาชีพสำหรับนักเรียน/นักศึกษาที่เป็นบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้” - จัดให้มี บุคลากร ที่เชี่ยวชาญในการ “สอน” และ “ฝึก” อาชีพ ให้แก่บุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ในสถานศึกษา/วิทยาลัยอาชีวะ - จัดให้มี หลักสูตรการอาชีพ ที่หลากหลาย และ ยืดหยุ่น

แนวทางการแก้ไข 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) กำหนดให้สถาบันอุดมศึกษาต้องจัดให้มี: - ระบบ/กลไก/หน่วยงาน/บุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจ ในการให้บริการช่วยเหลือนิสิตและนักศึกษาที่เป็นบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ - หลักสูตรที่ยืดหยุ่นและหลากหลาย/ระบบการรับเข้านิสิตนักศึกษาที่สอดคล้องและยืดหยุ่น - จัดให้มี “สถาบันวิจัย” ให้ครบทั้ง 4 ภูมิภาค

แนวทางการแก้ไข 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) - กำหนดให้ สภาที่ประชุมอธิการบดี /สภาที่ประชุมคณบดีคณะศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย/สภามหาวิทยาลัย-วิทยาลัย รณรงค์ ให้ บุคลากร มี ความเชื่อมั่น เห็น ความสำคัญ และ ให้ ความสนใจ ในการที่จะ พัฒนาศักยภาพเพียงบางด้าน ของ บุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้

แนวทางการแก้ไข 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) - ยกระดับศักยภาพของ คณะหรือภาควิชา ที่ผลิตบุคลากรทางด้านการบำบัด ให้มีศักยภาพ ที่จะผลิตนักบำบัด เช่น นักฝึกพูด นักกิจกรรมบำบัด ฯลฯ ได้มากขึ้น - ปรับหลักสูตรเพิ่มกระบวนวิชาที่ให้องค์ความรู้เกี่ยวกับบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้โดยให้เป็นกระบวนวิชาบังคับ ให้มีใน หลักสูตรการผลิตบุคลากรวิชาชีพต่างๆ ทุกประเภท

แนวทางการแก้ไข 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) - ผลิตบุคลากรวิชาชีพแพทย์เฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง เพิ่มปีละไม่ต่ำกว่า 10 คน - ผลิตนักบำบัดที่เกี่ยวข้องไม่ต่ำกว่าประเภทละ 50 คนขึ้นไป - ผลิตบุคลากรวิชาชีพครูที่สอนบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ได้ปีละไม่ต่ำกว่า 5,000-10,000 คน

แนวทางการแก้ไข ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) - จัดตั้ง “กองทุนเพื่อพัฒนาบุคลากรด้านบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้” จาก เงินนอกงบประมาณ เพื่อพัฒนาบุคลากรครูผู้สอนบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ และ เพื่อการจัดส่งบุคลากรเท่าที่จำเป็น ที่ “มีผลงานดีเด่น” ไปศึกษาต่อและอบรมเชิงลึกระยะสั้นทั้งในและนอกประเทศ

แนวทางการแก้ไข ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา 3. ด้านสิทธิโอกาสทางการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) - จัดตั้ง “คณะกรรมการกองทุนฯ” ที่มี “ตัวแทน” องค์กรผู้ปกครองเป็นกรรมการร่วม เพื่อดำเนินการพิจารณาการใช้งบฯ เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ในภาคส่วนต่างๆ

ประมาณการค่าใช้จ่าย กลุ่มบุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ประมาณการค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นข้อพิจารณาดังนี้ ปี 2549 จำนวน 227.46 ล้านบาท ปี 2550 จำนวน 302.36 ล้านบาท ปี 2551 จำนวน 352.81 ล้านบาท ปี 2552 จำนวน 305.79 ล้านบาท ปี 2553 จำนวน 45.00 ล้านบาท รวมทั้งสิ้น 1,233.42 ล้านบาท