ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ตำบลหนองยาว อ.เมือง จ.สระบุรี
Advertisements

สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
การสนับสนุนทางวิชาการ ต่อการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
กรมอนามัยยุคใหม่... ก้าวข้ามบริบทที่เปลี่ยนแปลง... แล้วไง?
ภารกิจนักสุขภาพครอบครัว
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
สถานการณ์ด้านสังคมและสุขภาพ ที่ต้องเจอ
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ประเด็น วิเคราะห์แนวคิดพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ
นโยบายด้านบริหาร.
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ภาวะแทรกช้อน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นพ.อำพล เวหะชาติ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี ก้าวสู่องค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน โดย พัชรี วงศ์ษา นักโภชนาการ ชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี

ทำไมต้องทำองค์กรไร้พุง ??? ปัญหา วิกฤต สุกงอม ผลกระทบต่อชาติสู่ความหายนะ พบมากสุดในวัยทำงาน เข้าแก้ปัญหาในองค์กรง่ายสุด

ปัญหา วิกฤต สุกงอม ตายวันละ 236 ศพ เพราะโรคหัวใจหลอดเลือด ปัญหา วิกฤต สุกงอม ตายวันละ 236 ศพ เพราะโรคหัวใจหลอดเลือด อัมพฤกษ์ อัมพาต พิการ เต็มประเทศ คนป่วย เบาหวาน ความดันสูง ไขมันหลอดเลือด ล้นโรงพยาบาล

ผลกระทบต่อชาติสู่ความหายนะ ค่ารักษาพยาบาล ค่ายาพุ่งสูงขึ้นอย่างน่าตกใจ วัยทำงานควรจะอยู่ในที่ทำงานแต่กลับไปนอน โรงพยาบาล พิการ ทำงาน ไม่เต็มตามศักยภาพ รายได้น้อย ขาดรายได้ แล้วใครจะเลี้ยงครอบครัว ชุมชน ประเทศไทยจนลงเพราะมุ่งรักษาคนป่วย

ต้นเหตุแห่งปัญหา?? พุงใหญ่ เพราะไขมันล้นเกิน ไขมันที่พุงเป็นไขมันอันตราย อันตรายเพราะนำไปสู่โรคหัวใจหลอดเลือด เบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพาต อัมพฤกษ์

ลดพุง ไขมันลด ลดโรค สุขภาพดี

พุงใหญ่ พบมากในวัยทำงาน

วัยทำงานอยู่ที่ ชุมชน องค์กร

พัฒนาให้เป็นองค์กร / ชุมชนต้นแบบ จึงต้องลดพุง คนในองค์กร / ชุมชน เริ่มด้วย พัฒนาให้เป็นองค์กร / ชุมชนต้นแบบ

การดำเนินการเพื่อป้องกัน/รักษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

องค์กรต้นแบบนำร่อง รพ. / รพ.สต. / สอ. / สสจ. อบต./เทศบาล ชมรม อสม. ชมรมสร้างเสริมสุขภาพ

องค์กรต้นแบบอื่นๆ โรงเรียน สถาบันการศึกษา สถานที่ราชการ บริษัทเอกชน / รัฐวิสาหกิจ

องค์กรต้นแบบ 2 ประเภท องค์กรไร้พุง องค์กรต้นแบบเรียนรู้ไร้พุง

แนวคิดก้าวสู่องค์กรไร้พุง นำผลงานเดิมมาต่อยอด ยึดการพึ่งพาตนเอง กัดไม่ปล่อย หวังผลระยะยาว คนในองค์กรทุกคนมีส่วนร่วม

เส้นทางสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง (9 เงื่อนไข) เส้นทางสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง (9 เงื่อนไข) 1.ผู้นำองค์กรลงมาเล่น 2.กำหนดเป็นนโยบายขององค์กร 3.มีคณะแกนนำขับเคลื่อน 4.มีแผนปฏิบัติงานชัดเจน 5.สร้างสิ่งแวดล้อมให้เอื้อลดพุง

เส้นทางสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง (9 เงื่อนไข) เส้นทางสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง (9 เงื่อนไข) 6.มีกติกาสังคม / มาตรการ / กฎระเบียบ 7.สร้างกระแส / สื่อสารตลอดเวลา 8.สร้างแรงจูงใจต่อเนื่อง 9.สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลง

หากองค์กรใดทำได้ครบ 9 เงื่อนไข คนในองค์กรจะพุงยุบ องค์กรไร้พุง

สร้างสิ่งแวดล้อมให้เอื้อลดพุง ให้โรงอาหารมีเมนูไร้พุง จัดสถานที่ออกกำลังกาย สร้างบรรยากาศลดพุงในองค์กร ให้เป็นองค์กรปลอดน้ำอัดลม ขนมหวานจัด

ตัวอย่างมาตรการ/กติกาสังคม ใช้บันไดแทนลิฟท์ กำหนดที่จอดรถของคนอ้วนให้ไกล ห้ามนำสินค้าอาหารที่หวาน มัน เค็ม ขาย จัดอาหารว่างประชุมให้มีแคลอรี่ต่ำ ห้ามกินจุบจิบเวลาทำงาน

ตัวอย่างมาตรการ/กติกาสังคม ใช้ผลไม้ น้ำเปล่า แทนขนมหวาน จันทร์ พุธ ศุกร์ ทุกคนต้องยืดเหยียด ร้านอาหารต้องระบุแคลอรี่

ผู้นำการเปลี่ยนแปลง อสม. ผู้นำองค์กร / ชุมชน คนต้นแบบ ผู้มีชื่อเสียง

การสร้างผู้นำเปลี่ยนแปลง พัฒนาองค์ความรู้เรื่องลดพุง พัฒนาองค์ความรู้การสื่อสาร เปลี่ยนแปลงตนเองก่อน แสวงหาลูกข่าย ลักษณะ ดาวกระจาย สลายพุง สร้างแรงจูงใจ

คุณสมบัติผู้นำเปลี่ยนแปลง อาจเป็นได้ทั้งคนปกติ / คนเสี่ยง สื่อสารเก่ง มนุษยสัมพันธ์ดี คนชื่นชอบ ยอมรับ มีเวลาและความมุ่งมั่น จิตอาสา

เป็นองค์กรไร้พุงแล้วได้อะไร??? คนในองค์กร ป่วยน้อยลง ลางานน้อยลง เบิกค่ารักษาพยาบาลน้อยลง สมรรถนะการทำงานดีขึ้น ผลผลิตองค์กรเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ที่สวยงาม

ประเมินค่าเป็นตัวเงินไม่ได้ ในที่สุด คนในองค์กร หรือ ชุมชน สุขภาพดี ประเมินค่าเป็นตัวเงินไม่ได้

สวัสดีค่ะ