การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ มทส.
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
Knowledge Management (KM)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
เป็นอย่างนี้ หรือเป็นอย่างนี้
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การศึกษาความพร้อมในการใช้การจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป จัดทำโดย นางสาววราพร วิริยะไชยกุล ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต.
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
Communities of Practice (CoP)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ของการประกันคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
อาจารย์ ดร.ฐิติพร ชมภูคำ กรรมการและเลขานุการหลักสูตร MBA
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
Theory in Knowledge Management (KM 701)
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
ADDIE Model.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จากความหมายของคำว่า ‘‘ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ’’ จะเห็นว่าวิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ส่วนเทคโนโลยีเป็น การนำความรู้มาใช้ให้เป็น.
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้

* กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ แข่งขันที่เคยจำกัดอยู่ในวงแคบ ๆ ขยายขอบ เขตออกไปครอบคลุมทั่ว โลก * ตามแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ปี ได้ กำหนดให้การบริหารงานภาครัฐเข้าสู่ * ระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) อีกทั้งแนวคิดในการบริหาร จัดการสมัยใหม่ ทั้งการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) การจัดการคุณภาพ (Quality Management) การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) และ การจัดการความรู้ (Knowledge Management)

* เป็นขั้นแรกของพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความสามารถ ในการจดจำ * ความรู้ เป็นหนึ่งในขั้นตอนของการเรียนรู้ ประกอบไป ด้วยคำจำกัดความหรือความหมาย ข้อเท็จจริง ทฤษฎี กฎ โครงสร้าง วิธีการแก้ไขปัญหา และมาตรฐานเป็นต้น * ความรู้เป็นเรื่องของการจำอะไรได้ ระลึกได้ โดยไม่ จำเป็นต้องใช้ความคิดที่ซับซ้อนหรือใช้ความสามารถ ของสมองมากนัก * เป็นขั้นตอนที่นำไปสู่พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความเข้าใจ การนำความรู้ไปใช้ในการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ ประเมินผล

1. ความรู้ที่ไม่ปรากฎชัดแจ้ง (Tacit Knowledge) เป็น ความรู้ที่ไม่สามารถเขียนหรืออธิบายได้ การถ่ายโอน ความรู้ประเภทนี้ทำได้ยาก จำเป็นต้องอาศัยการเรียนรู้ จากการกระทำ ฝึกฝน ( อยู่ในสมองคน เชื่อมโยงกับ ประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม ไม่สามารถถ่ายทอด ออกมาได้ทั้งหมด ) 2. ความรู้ที่ปรากฎชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็น ความรู้ที่สามารถเขียนหรืออธิบายออกมาเป็นตัวอักษร ฟังก์ชั่นหรือสมการได้ ( อยู่ในตำรา เอกสาร วารสาร คู่มือ คำอธิบาย วีซีดี คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูล )

* ความรู้ที่เกิดขึ้นเกิดจากการพัฒนาการเรียนรู้ที่มีการแลกเปลี่ยนการ เรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้ปฏิบัติงาน กระบวนการปรับเปลี่ยนและสร้าง ความรู้แบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะดังนี้

1. Socialization เป็นขั้นตอนแรกในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการสร้าง Tacit Knowledge จาก Tacit Knowledge ของผู้ร่วมงานโดยแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ตรงที่แต่ละคนมีอยู่ 2. Externalization เป็นขั้นตอนที่สองในการสร้างและแบ่งปันความรู้จาก สิ่งที่มีอยู่และเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นการแปลงความรู้ จาก Tacit Knowledge เป็น Explicit Knowledge

* 3. Combination เป็นขั้นตอนที่สามในการแปลงความรู้ขั้นต้น เพื่อการ สร้าง Explicit Knowledge จาก Explicit Knowledge ที่ได้เรียนรู้ เพื่อการ สร้างเป็นความรู้ประเภท Explicit Knowledge ใหม่ ๆ * 4. Internalization เป็นขั้นตอนที่สี่และขั้นตอนสุดท้ายในการแปลง ความรู้จาก Explicit Knowledge กลับสู่ Tacit Knowledge ซึ่งจะนำ ความรู้ที่เรียนมาใช้ในการปฏิบัติงานหรือใช้ในชีวิตประจำวัน

* องค์กรแห่งการเรียนรู้ คือ สถานที่ซึ่งทุกคนสามารถขยายศักยภาพของ ตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถสร้างผลงานตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป็น ที่ซึ่งเกิดรูปแบบการคิดใหม่ ๆ หลากหลายมากมาย ที่ซึ่งแต่ละคนมี อิสระที่จะสร้างแรงบันดาลใจ และเป็นที่ซึ่งทุกคนต่างเรียนรู้วิธีการ เรียนรู้ร่วมกัน

* ด้วยวัฒนธรรมการทำงานขององค์การไม่เอื้อต่อการพัฒนาเป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ บุคลากรส่วนใหญ่ไม่รู้วิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะคนที่มีอายุเฉลี่ยค่อนข้างมากจะทำงานตามหน้าที่ ที่เคย ปฏิบัติ ทำให้ขาดความกระตือรือร้น และความมุ่งมั่นในการพัฒนา ตนเองอย่างจริงจัง องค์กรขาดความต่อเนื่อง ในการเชื่อมโยงความรู้ ระหว่างบุคลากรแต่ละรุ่น หรือกลุ่มวัยที่ต่างกัน