ระบบ L.C มีการแบ่งระบบตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบจัดการคลังข้อสอบส่วนกลาง
Advertisements

IEEE/IET Electronic Library (IEL)
ดวงจันทร์ พยัคพันธุ์ ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
By: Jirawat Promporn By: Jirawat Promporn Contact: TRAINING Dept. BOOK PROMOTION & SERVICE CO., LTD. Update Latest 23/04/51.
for Beginning & Publishing
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ขั้นตอนการดำเนินงาน ฐานข้อมูล TCI
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
Hashing Function มีหลายฟังก์ชั่น การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล ตัวอย่างของฟังก์ชั่นแฮชมีดังนี้ 1. Mod คือการนำค่าคีย์มา mod ด้วยค่า n ใด.
Online Public Access Catalog
การใช้งานฐานข้อมูล Springer Link
Thesis รุ่น 1.
การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย(ThaiLIS)
การเตรียมข้อมูลสำหรับจัดซื้อหนังสือ
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
การจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
การแนะนำการใช้ฐานข้อมูล SpringerLink eBooks
แผนกบริการสารสนเทศ KM ขึ้นชั้น Cops Jigsaw ครั้งที่ 1/2553.
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL) การใช้งานฐานข้อมูล โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 22/04/54.
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
สื่อประกอบการเรียนการสอน การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
วิเคราะห์และสร้างสรรค์สารสนเทศ (Information Analysis and Creativity)
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
OPAC (Online Public Access Catalog)
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
WEB OPAC.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ข้อสังเกตและข้อผิดพลาด ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สรุปการจัดหมู่ 2 (การวิเคราะห์เลขหมู่ 2) Classification 2
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (3) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2547
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
ใช้นับจำนวนแบบมีเงื่อนไข รูปแบบฟังก์ชัน
การสืบค้นสารนิเทศInformation Retrieval
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
JSTOR ฐานข้อมูลวารสารฉบับย้อนหลัง ครอบ คลุมสหสาขาวิชา เช่น สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ ฯลฯ ให้ ข้อมูลบรรณานุกรมและเอกสารฉบับเต็ม.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
MDCONSULT โดย สุวรรณ สัมฤทธิ์ งานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด งานห้องสมุดกรมการแพทย์ สำนัก พัฒนาวิชาการแพทย์ ปรับปรุงล่าสุด 28/04/51.
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 21/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
สื่อประกอบการเรียนการสอน วิชา ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
TU Library Catalog.
เลขหมู่และการจัดเรียงบนชั้น
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
Knovel E-Books Database.
EBook Collection EBSCOhost.
หน้าจอการสืบค้น (OPAC)
IngentaConnect.
Searching Library Catalog “How-to” guide. Library Catalog คือ ฐานข้อมูล บรรณานุกรม ทรัพยากรสารสนเทศ ของห้องสมุด ได้แก่ หนังสือ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย.
ScienceDirec t จัดทำโดย ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุ รักษ์
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
Introduction EndNote เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลทางบรรณานุกรมที่ได้มาจากการบันทึกข้อมูลด้วยตนเอง การสืบค้นและถ่ายโอน (Import) ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง.
1 Introduction to SQL กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
การจัดเรียงหนังสือบนชั้น (Shelving)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบ L.C มีการแบ่งระบบตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ L.C. System การแบ่งครั้งที่ 1 อักษรเพียง 1 อักษร A H H199 - 199.5 Freight (General) B HA HA199.5 Passenger traffic C HB HB305 – 311 Urban transportation D HC HC331 – 380 Traffic engineering E-F HD HD374 – 377 Bridges H HE 380.8 – 971 Water transportation H E J HF HF1001 – 5600 Railways การแบ่งครั้งที่ 1 การแบ่งครั้งที่ 2 การแบ่งครั้งที่ 3

การแบ่งครั้งที่ 2 มีอักษร 2 อักษร K HG HG5601 – 5720 Automotive transportation L HJ HJ 5751 – 5870 Ferries M HM HM6000 – 7496 Postal service N HN7 HN7601 - 8700.9 Telecommunication industry P HQ HQ8701 - 9680.7 Telephone industry Q HS HS9719 – 9721 Artificial satellite การแบ่งครั้งที่ 1 การแบ่งครั้งที่ 2 การแบ่งครั้งที่ 3

การแบ่งครั้งที่ 3 มีอักษร และตัวอักษรเลขหมู่ R HT HT 9761-9900 Air transportation S HV T HX U V Z การแบ่งครั้งที่ 3 การแบ่งครั้งที่ 2 การแบ่งครั้งที่ 1

เลขหมู่นี้นำมาใช้ในตัวเล่มของวัสดุ คือ การแบ่งครั้งที่ 4 เลขหมู่นี้นำมาใช้ในตัวเล่มของวัสดุ คือ การแบ่งครั้งที่ 4 การแบ่งครั้งที่ 4 จะถูกแบ่งละเอียดลงไปอีก โดยใช้ ตารางภายนอก ตารางภายใน เลขคัตเตอร์

ตำแหน่งการจัดเก็บหนังสือใน สำนักวิทยบริการ ตำแหน่งการจัดเก็บหนังสือใน สำนักวิทยบริการ อาศัยหลักการเลขหมู่ (L.C) – ผู้แต่ง เลขหนังสือ (Book Namber ) หรือ เรียกรวมกันว่า เลขเรียกหนังสือ (call Number)

ชื่อแรกของ ชื่อเรื่อง เราทราบกันมาก่อนว่า เลขเรียกหนังสือ = call number หลักการประกอบด้วย เลขหมู่ - ชื่อแรกของผู้แต่ง - เลขประวัติผู้แต่ง ชื่อแรกของชื่อเรื่อง เลขหมู่ หากเป็นระบบ D.C 370 ป 117 ก ชื่อแรกของผู้แต่ง ชื่อแรกของ ชื่อเรื่อง เลขผู้แต่ง

= ในระบบเลขหมู่รัฐสภาอเมริกัน ( LC) มี เลขเรียกหนังสือ ( call number) TK 2851 .H3 TK 2851.H3 =

TK = Electrical enginecring 1 TK = Electrical enginecring 2 TK2851 = motors,general 3 .H3 = Harwood (autor) 4

TK 2851 .H3 อักษรแสดงสาขาวิชา เลขหมู่แสดง เนื้อหาเฉพาะ ชื่อ – สกุล ผู้แต่ง และเลขประจำตัว (cutter)

HQ 756 .D76 Family,marriage Fathers,husbands Dubrin (author ) และ เลขประจำตัว ( cutter) HQ756.D76 หรือ

บางครั้งเลขเรียกหนังสือ อาจมีความหมายซ้ำซ้อนกว่าเลขเรียกหนังสือข้างต้น บางครั้งเลขเรียกหนังสือ อาจมีความหมายซ้ำซ้อนกว่าเลขเรียกหนังสือข้างต้น PS100 .A5K3 เลขเรียกหนังสือ PS100 เลขหมู่ระบบL.C ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง + ชื่อเรื่อง (เนื้อหา) .A5K3 เลขหนังสือ (book number )

.A5K3 เลขหนังสือ ( Book Number ) อาจเรียกว่า เลขผู้แต่ง ( Author Number ) เลขคัตเตอร์ ( Cutter Number )

= เลขหมู่ (LC) + เลขหนังสือ (Book number เลขเรียกหนังสือ ( Call Number ) เลขหมู่ (LC) + เลขหนังสือ (Book number = เลขหนังสือ Book number เลขผู้แต่ง (Author number) อาจเรียกว่า เลขคัตเตอร์ (cutter number) หรือ

นั่นคือ เลขหนังสือ(Book number) เป็นตัวเลขประจำตัวผู้แต่งใช้ประกอบหรือเลขผู้แต่ง หรือเลขคัตเตอร์ เลขหมู่ + เลขหนังสือ หรือเลขผู้แต่ง หรือเลขคัตเตอร์ ตัวเนื้อหาของหนังสือ เลขเรียกหนังสือ (call number ) PS100 .A5K3 =

การจัดเรียงหนังสือบนชั้นวางหนังสือ เลขคัตเตอร์ในระบบ L.C มีความสำคัญมาก เพราะแยกแยะ เนื้อหานี้เฉพาะเจาะจง มีประโยชน์ในการจัด เรียงวัสดุห้องสมุด การจัดเรียงหนังสือบนชั้นวางหนังสือ 1 ยึดการเรียงลำดับตัวอักษร A-Z 2 กรณีมีอักษรซ้ำกันให้เรียงตามตัวเลขหมู่ กรณีอักษรซ้ำกัน – เลขหมู่ซ้ำกัน ให้เรียงตามชื่อผู้แต่ง 3 B 792 .T51 BF 195 .S2 BT 1003 .M49 HV 541 .P2 HV 964 .A42 HV 964 .A7

การได้มาซึ่งตัวเลขเลขคัตเตอร์ (Cutter number) มีหลักการคือ คำที่มีอักษรตัวเลขเป็น A, E, I, O, U (สระ) ให้ดูที่ พยัญชนะตัวที่ 2 ว่าเป็นอักษรใด โดยกำหนดเลขตามอักษร นั้นๆ หรือ อักษรที่ใกล้เคียงที่สุด 1. b d l,m n p r s,t u-y 2 3 4 5 6 7 8 9

Ex. : Abernathy .A2 Adams .A3 Aster .A8 Uttaradit .U8

คำขึ้นต้นด้วยอักษร s ให้ดูตัวอักษรตัวที่ 2 คือ 2. a ch e h,i m-p t u 2 3 4 5 6 7-8 9

Ex. : Saint .S2 Semens .S4 Steels .S7 Sunya .S9

คำขึ้นต้นด้วยอักษร Qu ให้ดูตัวอักษรตัวที่ 3 คือ 3. a e i o r y 3 4 5 6 7 8 Ex. : Queen .Q4 Quicker .Q5

คำขึ้นต้นด้วยพยัญชนะให้ดูอักษรที่ถัดไป หากไม่มีอักษรนั้น ๆ ในตารางให้ดูที่สระที่อยู่ถัดไป 4. a e i o r u y 3 4 5 6 7 8 9

Ex. : Cecil .C4 Cyprus .C9 Chiengmai .C5 Phrae .P7

a-d e-h i-l m n-p r-t u-w x-z 2 3 4 5 6 7 8 9 หากต้องการเพิ่มจำนวนเลขที่ 2 ต่อจากเลขคัตเตอร์เดิม ให้ดูอักษรตัวที่ 3 5. a-d e-h i-l m n-p r-t u-w x-z 2 3 4 5 6 7 8 9

Ex. : Cadmus .C3(2) .C3(5) Campbell Cannon .C3(6)

Assignment : ให้นักศึกษา นำชื่อเพื่อนนักศึกษามาเขียนเป็นภาษาอังกฤษ ให้นักศึกษา นำชื่อเพื่อนนักศึกษามาเขียนเป็นภาษาอังกฤษ จากนั้นให้ระบุเลข Cutter ของชื่อเหล่านั้น

ตัวอย่างของเลขเรียกหนังสือในระบบ L.C. Mc Kinley C. Olson เขียนหนังสือ Unacceptable Risk : the Nuclear Power Controversy TK 1343 .O47 Technology

ผู้แต่งคนเดียวกัน เขียนหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน เขียนหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน แต่พิมพ์คนละครั้ง ให้ระบุปีต่อจากเลขเรียกหนังสือด้วย EX. : Paul F. Ploutz เขียนหนังสือ The Metric System : Content and Methods พิมพ์ครั้งที่ 1 คศ.1975 พิมพ์ครั้งที่ 2 คศ.1977 QC 93 .P57 1977 QC 93 .P57

Summer แต่งหนังสือ Retail Trade of Thailand บางครั้ง จะมีเลขคัตเตอร์ 2 ครั้ง เช่น Joh P. Summer แต่งหนังสือ Retail Trade of Thailand HF 5429.25 .T5S6 .T5 หมายถึง ประเทศไทย .S6 หมายถึง Sommer

หรือ John Adams แต่งหนังสือเรื่อง Training Of Staffs HF 5549. 5 .T7A3 .T7 หมายถึง Training .A3 หมายถึง Adams