ระบบ L.C มีการแบ่งระบบตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ L.C. System การแบ่งครั้งที่ 1 อักษรเพียง 1 อักษร A H H199 - 199.5 Freight (General) B HA HA199.5 Passenger traffic C HB HB305 – 311 Urban transportation D HC HC331 – 380 Traffic engineering E-F HD HD374 – 377 Bridges H HE 380.8 – 971 Water transportation H E J HF HF1001 – 5600 Railways การแบ่งครั้งที่ 1 การแบ่งครั้งที่ 2 การแบ่งครั้งที่ 3
การแบ่งครั้งที่ 2 มีอักษร 2 อักษร K HG HG5601 – 5720 Automotive transportation L HJ HJ 5751 – 5870 Ferries M HM HM6000 – 7496 Postal service N HN7 HN7601 - 8700.9 Telecommunication industry P HQ HQ8701 - 9680.7 Telephone industry Q HS HS9719 – 9721 Artificial satellite การแบ่งครั้งที่ 1 การแบ่งครั้งที่ 2 การแบ่งครั้งที่ 3
การแบ่งครั้งที่ 3 มีอักษร และตัวอักษรเลขหมู่ R HT HT 9761-9900 Air transportation S HV T HX U V Z การแบ่งครั้งที่ 3 การแบ่งครั้งที่ 2 การแบ่งครั้งที่ 1
เลขหมู่นี้นำมาใช้ในตัวเล่มของวัสดุ คือ การแบ่งครั้งที่ 4 เลขหมู่นี้นำมาใช้ในตัวเล่มของวัสดุ คือ การแบ่งครั้งที่ 4 การแบ่งครั้งที่ 4 จะถูกแบ่งละเอียดลงไปอีก โดยใช้ ตารางภายนอก ตารางภายใน เลขคัตเตอร์
ตำแหน่งการจัดเก็บหนังสือใน สำนักวิทยบริการ ตำแหน่งการจัดเก็บหนังสือใน สำนักวิทยบริการ อาศัยหลักการเลขหมู่ (L.C) – ผู้แต่ง เลขหนังสือ (Book Namber ) หรือ เรียกรวมกันว่า เลขเรียกหนังสือ (call Number)
ชื่อแรกของ ชื่อเรื่อง เราทราบกันมาก่อนว่า เลขเรียกหนังสือ = call number หลักการประกอบด้วย เลขหมู่ - ชื่อแรกของผู้แต่ง - เลขประวัติผู้แต่ง ชื่อแรกของชื่อเรื่อง เลขหมู่ หากเป็นระบบ D.C 370 ป 117 ก ชื่อแรกของผู้แต่ง ชื่อแรกของ ชื่อเรื่อง เลขผู้แต่ง
= ในระบบเลขหมู่รัฐสภาอเมริกัน ( LC) มี เลขเรียกหนังสือ ( call number) TK 2851 .H3 TK 2851.H3 =
TK = Electrical enginecring 1 TK = Electrical enginecring 2 TK2851 = motors,general 3 .H3 = Harwood (autor) 4
TK 2851 .H3 อักษรแสดงสาขาวิชา เลขหมู่แสดง เนื้อหาเฉพาะ ชื่อ – สกุล ผู้แต่ง และเลขประจำตัว (cutter)
HQ 756 .D76 Family,marriage Fathers,husbands Dubrin (author ) และ เลขประจำตัว ( cutter) HQ756.D76 หรือ
บางครั้งเลขเรียกหนังสือ อาจมีความหมายซ้ำซ้อนกว่าเลขเรียกหนังสือข้างต้น บางครั้งเลขเรียกหนังสือ อาจมีความหมายซ้ำซ้อนกว่าเลขเรียกหนังสือข้างต้น PS100 .A5K3 เลขเรียกหนังสือ PS100 เลขหมู่ระบบL.C ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง + ชื่อเรื่อง (เนื้อหา) .A5K3 เลขหนังสือ (book number )
.A5K3 เลขหนังสือ ( Book Number ) อาจเรียกว่า เลขผู้แต่ง ( Author Number ) เลขคัตเตอร์ ( Cutter Number )
= เลขหมู่ (LC) + เลขหนังสือ (Book number เลขเรียกหนังสือ ( Call Number ) เลขหมู่ (LC) + เลขหนังสือ (Book number = เลขหนังสือ Book number เลขผู้แต่ง (Author number) อาจเรียกว่า เลขคัตเตอร์ (cutter number) หรือ
นั่นคือ เลขหนังสือ(Book number) เป็นตัวเลขประจำตัวผู้แต่งใช้ประกอบหรือเลขผู้แต่ง หรือเลขคัตเตอร์ เลขหมู่ + เลขหนังสือ หรือเลขผู้แต่ง หรือเลขคัตเตอร์ ตัวเนื้อหาของหนังสือ เลขเรียกหนังสือ (call number ) PS100 .A5K3 =
การจัดเรียงหนังสือบนชั้นวางหนังสือ เลขคัตเตอร์ในระบบ L.C มีความสำคัญมาก เพราะแยกแยะ เนื้อหานี้เฉพาะเจาะจง มีประโยชน์ในการจัด เรียงวัสดุห้องสมุด การจัดเรียงหนังสือบนชั้นวางหนังสือ 1 ยึดการเรียงลำดับตัวอักษร A-Z 2 กรณีมีอักษรซ้ำกันให้เรียงตามตัวเลขหมู่ กรณีอักษรซ้ำกัน – เลขหมู่ซ้ำกัน ให้เรียงตามชื่อผู้แต่ง 3 B 792 .T51 BF 195 .S2 BT 1003 .M49 HV 541 .P2 HV 964 .A42 HV 964 .A7
การได้มาซึ่งตัวเลขเลขคัตเตอร์ (Cutter number) มีหลักการคือ คำที่มีอักษรตัวเลขเป็น A, E, I, O, U (สระ) ให้ดูที่ พยัญชนะตัวที่ 2 ว่าเป็นอักษรใด โดยกำหนดเลขตามอักษร นั้นๆ หรือ อักษรที่ใกล้เคียงที่สุด 1. b d l,m n p r s,t u-y 2 3 4 5 6 7 8 9
Ex. : Abernathy .A2 Adams .A3 Aster .A8 Uttaradit .U8
คำขึ้นต้นด้วยอักษร s ให้ดูตัวอักษรตัวที่ 2 คือ 2. a ch e h,i m-p t u 2 3 4 5 6 7-8 9
Ex. : Saint .S2 Semens .S4 Steels .S7 Sunya .S9
คำขึ้นต้นด้วยอักษร Qu ให้ดูตัวอักษรตัวที่ 3 คือ 3. a e i o r y 3 4 5 6 7 8 Ex. : Queen .Q4 Quicker .Q5
คำขึ้นต้นด้วยพยัญชนะให้ดูอักษรที่ถัดไป หากไม่มีอักษรนั้น ๆ ในตารางให้ดูที่สระที่อยู่ถัดไป 4. a e i o r u y 3 4 5 6 7 8 9
Ex. : Cecil .C4 Cyprus .C9 Chiengmai .C5 Phrae .P7
a-d e-h i-l m n-p r-t u-w x-z 2 3 4 5 6 7 8 9 หากต้องการเพิ่มจำนวนเลขที่ 2 ต่อจากเลขคัตเตอร์เดิม ให้ดูอักษรตัวที่ 3 5. a-d e-h i-l m n-p r-t u-w x-z 2 3 4 5 6 7 8 9
Ex. : Cadmus .C3(2) .C3(5) Campbell Cannon .C3(6)
Assignment : ให้นักศึกษา นำชื่อเพื่อนนักศึกษามาเขียนเป็นภาษาอังกฤษ ให้นักศึกษา นำชื่อเพื่อนนักศึกษามาเขียนเป็นภาษาอังกฤษ จากนั้นให้ระบุเลข Cutter ของชื่อเหล่านั้น
ตัวอย่างของเลขเรียกหนังสือในระบบ L.C. Mc Kinley C. Olson เขียนหนังสือ Unacceptable Risk : the Nuclear Power Controversy TK 1343 .O47 Technology
ผู้แต่งคนเดียวกัน เขียนหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน เขียนหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน แต่พิมพ์คนละครั้ง ให้ระบุปีต่อจากเลขเรียกหนังสือด้วย EX. : Paul F. Ploutz เขียนหนังสือ The Metric System : Content and Methods พิมพ์ครั้งที่ 1 คศ.1975 พิมพ์ครั้งที่ 2 คศ.1977 QC 93 .P57 1977 QC 93 .P57
Summer แต่งหนังสือ Retail Trade of Thailand บางครั้ง จะมีเลขคัตเตอร์ 2 ครั้ง เช่น Joh P. Summer แต่งหนังสือ Retail Trade of Thailand HF 5429.25 .T5S6 .T5 หมายถึง ประเทศไทย .S6 หมายถึง Sommer
หรือ John Adams แต่งหนังสือเรื่อง Training Of Staffs HF 5549. 5 .T7A3 .T7 หมายถึง Training .A3 หมายถึง Adams