รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2547

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม พ.ศ.2548
Advertisements

ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 08/04/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ.
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การบริหารงานของห้องสมุด
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
Assignment 2010/ คลังสินค้าและการขนถ่ายวัสดุ
การจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
Management Information Systems
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การสืบค้นสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
วิชา การสืบค้นสารสนเทศ ขั้นสูง ( Advanced Information Retrieval ) รหัสวิชา (2-2)
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (6) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
วิทยนิวส์ สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
บรรยาย โดย รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3)
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (1) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (1)
สื่อการสอน : เว็บไซต์สำนักวิทย บริการ สถาบันราชภัฏ อุตรดิตถ์ รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ.
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (3) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
งานเพื่อเสริมศักยภาพทาง วิชาการของ นักศึกษาวิชาเอก บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ สำหรับวิชา : ความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ รองศาสตราจารย์ปัญญา.
สื่อความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ ( 4 ). การดำเนินงานภายใน ห้องสมุด ห้องส มุด จะให้บริการได้ดีสมบูรณ์ ต้อง ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี้ วัสดุห้องสมุด.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ห้องสมุดคณะวิจิตรศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวคิดในการทำวิจัย.
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
รายงานการศึกษาค้นคว้า
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
คำอธิบายรายวิชา 1.คำอธิบายรายวิชา (คัดจากเอกสารหลักสูตร)
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
เลขหมู่และการจัดเรียงบนชั้น
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การทำบัตรสมาชิกห้องสมุด
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
บท นำ ความ เป็นมา และ ความสำ คัญของ ปัญหา การเรียนการสอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี วัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือมุ่งปลูกฝังให้นักเรียน ได้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนการปลูกฝังให้นักเรียนรักการอ่านจึงมี
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2547 การวิเคราะห์เลขหมู่ 1 โดย รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2547

การจัดหมู่ 1 (การวิเคราะห์เลขหมู่ 1) : classification I เป็นวิชาหลัก เรียนแล้วทำให้มีความรู้ และเชี่ยวชาญ ดังนี้ สาขาวิชาการต่างๆ ทุกสาขาในโลก ความสามารถของมนุษย์ที่เรียนรู้วิธีการจัดการวัสดุห้องสมุด (หนังสือ) เน้น เนื้อหา มากกว่ารูปร่าง หรือ สีสรรของวัสดุ ระบบการจัดหมู่ของหนังสือ วิธีการจัดหมู่ - การกำหนดเลขหมู่ การเป็นบรรณารักษ์ที่มีความสามารถในการจัดหมู่ ความสัมพันธ์ของวิชาการจัดหมู่กับงานอื่นๆ ของห้องสมุด

กิจกรรมการเรียนการสอน แบ่งกลุ่มนักศึกษา ศึกษาหมวดใหญ่ของระบบเลขหมู่ ทศนิยมของ ดิวอี้ - oral report ประวัติของ Melvil Dewey แต่ละกลุ่มค้นคว้าบทความใหม่ๆ ที่เกี่ยวกับระบบการจัดหมู่หนังสือ - สรุปบทความละ 1 หน้า แต่ละคนศึกษาระบบเลขหมู่ทศนิยมของดิวอี้จากหนังสือคู่มือ - http:// library.uru.ac.th (Dewey link:020) แบบฝึกหัดการจัดหมู่ จากสถานการณ์จำลองและสถานการณ์จริง เรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษจากหนังสือพิมพ์ Internet ในรูปของประโยค คนละ 15 กระดาษ A4

นักศึกษาแต่ละคน ควร มีความรู้เพิ่มรักการอ่านและค้นคว้า ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ นักศึกษาแต่ละคน ควร เรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 5 อ สายกลาง

ทรัพยากรการเรียนรู้ Google.com books 020 วารสาร บทความ Http://library.uru.ac.th Dewey link ฝ่ายวิเคราะห์ทรัพยากร Interesting link Book on line fulltext

ลักษณะของห้องสมุด สมัยใหม่ (living library) การบริการวัสดุตีพิมพ์ การบริการวัสดุไม่ตีพิมพ์หรือโสตทัศนวัสดุ ลักษณะของห้องสมุด สมัยใหม่ (living library) การบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ฝ่ายวารสารและสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง ฝ่ายโสตทัศนวัสดุ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายบริการสารสนเทศ ฝ่ายเลขานุการสำนักวิทยบริการ

ฝ่ายทรัพยากรสารสนเทศ มีภาระกิจงาน คือ งานคัดเลือกตัววัสดุห้องสมุด งานจัดซื้อวัสดุห้องสมุด งานซ่อม - สร้างหนังสือ - วารสาร งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ งานฐานข้อมูลวัสดุห้องสมุด งานเตรียมวัสดุออกให้บริการ

งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ กำหนดเลขหมู่ งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ กำหนดหัวเรื่อง งานทำรายการ

ความสามารถในการวิเคราะห์เลขหมู่ ศึกษาทฤษฎี การจัดหมู่ ศึกษาคู่มือการจัดหมู่ อ่านสรุปให้ได้เนื้อหาหลัก

เนื้อหาหลักประเด็นสำคัญ กำหนดเลขหมู่กับตัวหนังสือ ขั้นตอน หนังสือ อ่าน / วิเคราะห์ / สรุป เนื้อหาหลักประเด็นสำคัญ คู่มือเลขหมู่ บริการ กำหนดเลขหมู่กับตัวหนังสือ คัดเลือกเลขหมู่ ที่ตรงกับเนื้อหา

หนังสือ เนื้อหาเหมือนกัน ไม่ว่าจะเขียนด้วยภาษาใดจะมีเลขหมู่เดียวกัน เนื้อหาเหมือนกัน ไม่ว่าจะเขียนด้วยภาษาใดจะมีเลขหมู่เดียวกัน หนังสือ เนื้อหาใกล้เคียงกัน จะมีเลขหมู่ใกล้เคียงกัน เนื้อหาที่ต่างกัน จะมีเลขหมู่ห่างกัน

ทฤษฎีที่โลกยึดถือในการจัดหมู่หนังสือ โดยยึดเนื้อหาเป็นหลักมีมากกว่า 10 ระบบ ศึกษา รายละเอียดจาก (การจัดหมู่ 1 / การวิเคราะห์เลขหมู่ 1) Book on line

เลขหมู่ที่นิยม และมีชื่อเสียงคือ ระบบเลขทศนิยมของดิวอี้ Dewey Decimal Classification DDC. / D.C.

ภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ D.C. แบ่งความรู้ของโลกออกเป็น หมวดใหญ่ 10 วิทยาศาสตร์ ภาษา สังคม ปรัชญา วรรณคดี เบ็ดเตล็ด ศิลปบันเทิง นันทนาการ เทคโนโลยี ภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ ศาสนา

แทนหมวดใหญ่ของความรู้ D.C. ใช้เลขอารบิค 000 - 900 แทนหมวดใหญ่ของความรู้ 000 เบ็ดเตล็ด / สารานุกรม / วารสาร 100 ปรัชญา 200 ศาสนา 300 สังคมศาสตร์ 400 ภาษาศาสตร์ 500 วิทยาศาสตร์ 600 เทคโนโลยี / วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 700 ศิลปะ การบันเทิง นันทนาการ 800 วรรณคดี 900 ภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์

นักศึกษา อภิปรายเนื้อหาของสาขา วิชาย่อยในแต่ละหมวดใหญ่

วิธีการกระจายตัวเลขของระบบดิวอี้ 000 100 200 300 400 500 600 700 800 900 300 310 320 330 340 350 360 370 380 390 370 371 372 373 374 375 376 377 378 379 378.1 378.2 378.3 378.34 หมวดใหญ่ หมวด หมู่ หมู่ย่อย

310 320 330 340 350 360 370 380 390 300 หมวด หมวดใหญ่

371 372 373 374 375 376 377 378 379 370 หมู่ หมวด

373.1 373.2 373.3 373.9 373.5 373 หมู่ย่อย หมู่

จากเลขหมู่ย่อย เพื่อให้เนื้อหาเจาะจง / เฉพาะ สามารถใช้เลขตาราง (tables) ซึ่งมีทั้งหมด 7 ตารางมาต่อท้าย เลขหมู่ย่อย เช่น 373 การศึกษาขั้นมัธยม = (-593) = ประเทศไทย (ตารางที่ 2) 373 + (-593) = 373.593 = การศึกษาขั้นมัธยม

วิธีการจัดหมู่ หรือการวิเคราะห์เนื้อหาของหนังสือ วิธีการจัดหมู่ หรือการวิเคราะห์เนื้อหาของหนังสือ อ่านตัวเล่มของหนังสือ คำนำ / สารบัญ / เนื้อหาบางตอนแบบ Skim Reading คือ What / where / why / where / when สรุปเนื้อหาประเด็นสำคัญ ของหนังสือ เลือกตัวเลขหมู่ DC ที่ตรงกับเนื้อหาหลักของหนังสือ กำหนดเลขหมู่ต่อตัวหนังสือเล่มนั้น ๆ ทำรายการ งานเทคนิคตัวเล่ม บริการผู้ใช้