วิเคราะห์ความขัดแย้งจากบทความ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือนเมษายน 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
การอนุญาตให้ foreign issuer เข้ามาเสนอขายหลักทรัพย์
SMART Disclosure Program
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
ความหมายของเครือข่าย

ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การวางแผนกลยุทธ์.
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
Analyzing The Business Case
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
ผู้จัดการฝ่ายขายมืออาชีพ (Professional Sales Manager)
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
Computer Application in Customer Relationship Management
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Balanced Scorecard ( BSC ).
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
แนวคิดเครือข่ายและการประยุกต์ใช้ทางธุรกิจ
การจัดทำแผนธุรกิจ.
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
จัดทำโดย ด. ช. สรวิชญ์ อุปพงษ์ เลขที่ 3 ชั้น ม.1/6 ด. ช. ชญานัน สุวรรณนคร เลขที่ 7 ชั้น ม.1/6.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
เครื่องมือวิเคราะห์บริบทชุมชน แผนผังเมทริกซ์ (Matrix Diagram)
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิเคราะห์ความขัดแย้งจากบทความ เสริมสุข กับ PEPSICO

ความเป็นมา วางตลาดในเมืองไทยปี 2496 Franchise ชื่อ บริษัท เสริมสุข วางตลาดในเมืองไทยปี 2496   Franchise  ชื่อ บริษัท เสริมสุข ผู้ร่วมทุนสำคัญ ยม ตัณฑเศรษฐี ทรง บูลสุข

ลำดับเหตุการณ์ การลงนามในสัญญาปี 2541 บริษัทเสริมสุข ได้ตกลงซื้อหัวน้ำเชื้อ กับ Pepsi Co., Inc. ก.พ. 2553  มีมติเห็นควรให้ทบทวนข้อเท็จจริง หรือปัจจัยการกำหนดราคาหรือเงื่อนไขของสัญญา เม.ย. 2553 Pepsi Co ส่ง บริษัท สตราทีจิค “ตัวแทน” ทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของเสริมสุข เพื่อให้ถือหุ้นกิจการ 51% แต่จำนวนหุ้นที่นำมาเสนอขาย < ที่ทำคำเสนอซื้อ Pepsi Co จึงได้ยกเลิกการเสนอซื้อ

ลำดับเหตุการณ์ 4 ต.ค. 2553   เสริมสุขเจรจาแก้ไขสัญญา เพื่อให้ได้ราคาและเงื่อนไขที่ดีขึ้น และจัดทำแผนธุรกิจในอนาคต (Future Business Plan) 28 ต.ค. 2553 บริษัท เอสเอส เนชั่นแนล โลจิสติกส์ จำกัด ทำคำ เสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของเสริมสุข เพื่อให้ได้ถือหุ้นของเสริมสุข ในสัดส่วนอันมีนัยสำคัญ (> 25%) กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหม่ มิใช่กลุ่มเดียวกับเปปซีในครั้งก่อน 3 พ.ย. 2553  บริษัท เป๊ปซี่-โคล่า(ไทย) เทรดดิ้ง จำกัด ได้ยื่นต่อศาลแพ่ง ขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนมติที่ประชุม ครั้ง 1/2553

ลำดับเหตุการณ์ 13 มกราคม  2554 บริษัท เป๊ปซี่-โคล่า (ไทย) เทรดดิ้งจำกัด ได้ยื่นต่อศาลแพ่งขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนมติที่ประชุมฯ ครั้ง 2/2553 แต่เสริมสุขได้ยื่นคำคัดค้านต่อศาล 31 มี.ค. 2554 เสริมสุข ประชุมพิเศษ ครั้งที่ 5/2554 โดยมีวาระสำคัญ “การบอกเลิกสัญญาระหว่างกับเป๊ปซี่” 29 เมษายน 2554   เสริมสุข จัดประชุมสามัญฯ ครั้งที่ 1/2554  บรรลุ วัตถุประสงค์ 2 ข้อ 1. การยกเลิกสัญญากับเปปซีโดยแก้ไขเพิ่มเติมแผนธุรกิจในอนาคต (Future Business Plan) 2. เปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ 4 คน

โครงสร้างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในปัจจุบัน บริษัท เอสเอส เนชั่นแนล โลจิสติกส์ จำกัด 32.62% กลุ่มเป๊ปซี = บริษัท เป๊ปซี่-โคลา (ไทย) เทรดดิ้ง จำกัดและ SEVEN-UPNEDERLAND, B.V . 41.55% แล้ว

วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้ง ความขัดแย้งระหว่างองค์กรที่เป็นคู่ค้า ความขัดแย้งภายในองค์กร ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ ความขัดแย้งด้านข้อมูล การสื่อสารบกพร่อง ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์ ความขัดแย้งด้านค่านิยม ความแตกต่างของบุคคล เป็นความขัดแย้งด้านโครงสร้าง แย่งชิงอำนาจ

สาเหตุที่มาของความขัดแย้ง   1. ความผันผวนทางเศรษฐกิจ เป็นจุดเริ่มต้นของความขัดแย้งซึ่งมาจากผลประโยชน์ไม่ลงตัว ต่างฝ่ายต่างต้องการผลประโยชน์ที่สูงกว่า 2. การบริหารงานภายใต้บริษัทซึ่งมีบุคคลหลายฝ่าย ค่านิยมต่าง หลากหลายความคิด นำมาซึ่งความขัดแย้งภายในองค์กร 3. การสื่อสารบกพร่อง การประเมินข้อมูลที่ไม่ตรงกัน การเจรจาตกลงทางการค้าจึงไม่เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ที่ต้องการ 4. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ แบ่งแยกกัน เกิดความขัดแย้งกันเองทำให้ความสัมพันธ์เป็นไปในทางลบ 5. แต่ละฝ่ายต่างต้องการถือหุ้นสูงสุด เพื่อเป็นอำนาจต่อรอง

ผลกระทบของความขัดแย้ง ผลกระทบในทางลบ 1. เกิดความแตกแยกเป็นหลายฝ่าย และขัดแย้งกัน 2. เป็นอุปสรรคในการบริหารงานและการประสานงาน 3. เกิดภาพลักษณ์ที่ไม่ดีในสายตาคนภายนอก 4. เปิดโอกาสให้คู่แข่งใช้เป็นข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน ผลกระทบในทางบวก 1. ความคิดเห็นต่าง อาจนำมาซึ่งสิ่งที่ดีกว่าเดิม

แนวทางการจัดการความขัดแย้ง 1. ผู้บริหารต้องสื่อสารกันอย่างจริงใจตรงไปตรงมา 2. การเจรจาจัดทำข้อตกลงใหม่ที่เป็นธรรม 3. การเจรจาต้องมีคนกลางเพื่อปรับทัศนคติ- ปรับความสัมพันธ์ที่ดี 4. มุมมองที่แตกต่างกัน ต้องสื่อสารอย่างชัดเจน 5. ยึดหลักบรรษัทภิบาลในการดำเนินธุรกิจ 6. มุ่งเป้าหมายตามวิสัยทัศน์