วิเคราะห์ความขัดแย้งจากบทความ เสริมสุข กับ PEPSICO
ความเป็นมา วางตลาดในเมืองไทยปี 2496 Franchise ชื่อ บริษัท เสริมสุข วางตลาดในเมืองไทยปี 2496 Franchise ชื่อ บริษัท เสริมสุข ผู้ร่วมทุนสำคัญ ยม ตัณฑเศรษฐี ทรง บูลสุข
ลำดับเหตุการณ์ การลงนามในสัญญาปี 2541 บริษัทเสริมสุข ได้ตกลงซื้อหัวน้ำเชื้อ กับ Pepsi Co., Inc. ก.พ. 2553 มีมติเห็นควรให้ทบทวนข้อเท็จจริง หรือปัจจัยการกำหนดราคาหรือเงื่อนไขของสัญญา เม.ย. 2553 Pepsi Co ส่ง บริษัท สตราทีจิค “ตัวแทน” ทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของเสริมสุข เพื่อให้ถือหุ้นกิจการ 51% แต่จำนวนหุ้นที่นำมาเสนอขาย < ที่ทำคำเสนอซื้อ Pepsi Co จึงได้ยกเลิกการเสนอซื้อ
ลำดับเหตุการณ์ 4 ต.ค. 2553 เสริมสุขเจรจาแก้ไขสัญญา เพื่อให้ได้ราคาและเงื่อนไขที่ดีขึ้น และจัดทำแผนธุรกิจในอนาคต (Future Business Plan) 28 ต.ค. 2553 บริษัท เอสเอส เนชั่นแนล โลจิสติกส์ จำกัด ทำคำ เสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของเสริมสุข เพื่อให้ได้ถือหุ้นของเสริมสุข ในสัดส่วนอันมีนัยสำคัญ (> 25%) กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหม่ มิใช่กลุ่มเดียวกับเปปซีในครั้งก่อน 3 พ.ย. 2553 บริษัท เป๊ปซี่-โคล่า(ไทย) เทรดดิ้ง จำกัด ได้ยื่นต่อศาลแพ่ง ขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนมติที่ประชุม ครั้ง 1/2553
ลำดับเหตุการณ์ 13 มกราคม 2554 บริษัท เป๊ปซี่-โคล่า (ไทย) เทรดดิ้งจำกัด ได้ยื่นต่อศาลแพ่งขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนมติที่ประชุมฯ ครั้ง 2/2553 แต่เสริมสุขได้ยื่นคำคัดค้านต่อศาล 31 มี.ค. 2554 เสริมสุข ประชุมพิเศษ ครั้งที่ 5/2554 โดยมีวาระสำคัญ “การบอกเลิกสัญญาระหว่างกับเป๊ปซี่” 29 เมษายน 2554 เสริมสุข จัดประชุมสามัญฯ ครั้งที่ 1/2554 บรรลุ วัตถุประสงค์ 2 ข้อ 1. การยกเลิกสัญญากับเปปซีโดยแก้ไขเพิ่มเติมแผนธุรกิจในอนาคต (Future Business Plan) 2. เปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ 4 คน
โครงสร้างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในปัจจุบัน บริษัท เอสเอส เนชั่นแนล โลจิสติกส์ จำกัด 32.62% กลุ่มเป๊ปซี = บริษัท เป๊ปซี่-โคลา (ไทย) เทรดดิ้ง จำกัดและ SEVEN-UPNEDERLAND, B.V . 41.55% แล้ว
วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้ง ความขัดแย้งระหว่างองค์กรที่เป็นคู่ค้า ความขัดแย้งภายในองค์กร ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ ความขัดแย้งด้านข้อมูล การสื่อสารบกพร่อง ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์ ความขัดแย้งด้านค่านิยม ความแตกต่างของบุคคล เป็นความขัดแย้งด้านโครงสร้าง แย่งชิงอำนาจ
สาเหตุที่มาของความขัดแย้ง 1. ความผันผวนทางเศรษฐกิจ เป็นจุดเริ่มต้นของความขัดแย้งซึ่งมาจากผลประโยชน์ไม่ลงตัว ต่างฝ่ายต่างต้องการผลประโยชน์ที่สูงกว่า 2. การบริหารงานภายใต้บริษัทซึ่งมีบุคคลหลายฝ่าย ค่านิยมต่าง หลากหลายความคิด นำมาซึ่งความขัดแย้งภายในองค์กร 3. การสื่อสารบกพร่อง การประเมินข้อมูลที่ไม่ตรงกัน การเจรจาตกลงทางการค้าจึงไม่เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ที่ต้องการ 4. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ แบ่งแยกกัน เกิดความขัดแย้งกันเองทำให้ความสัมพันธ์เป็นไปในทางลบ 5. แต่ละฝ่ายต่างต้องการถือหุ้นสูงสุด เพื่อเป็นอำนาจต่อรอง
ผลกระทบของความขัดแย้ง ผลกระทบในทางลบ 1. เกิดความแตกแยกเป็นหลายฝ่าย และขัดแย้งกัน 2. เป็นอุปสรรคในการบริหารงานและการประสานงาน 3. เกิดภาพลักษณ์ที่ไม่ดีในสายตาคนภายนอก 4. เปิดโอกาสให้คู่แข่งใช้เป็นข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน ผลกระทบในทางบวก 1. ความคิดเห็นต่าง อาจนำมาซึ่งสิ่งที่ดีกว่าเดิม
แนวทางการจัดการความขัดแย้ง 1. ผู้บริหารต้องสื่อสารกันอย่างจริงใจตรงไปตรงมา 2. การเจรจาจัดทำข้อตกลงใหม่ที่เป็นธรรม 3. การเจรจาต้องมีคนกลางเพื่อปรับทัศนคติ- ปรับความสัมพันธ์ที่ดี 4. มุมมองที่แตกต่างกัน ต้องสื่อสารอย่างชัดเจน 5. ยึดหลักบรรษัทภิบาลในการดำเนินธุรกิจ 6. มุ่งเป้าหมายตามวิสัยทัศน์