ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จังหวัดตราด ผลการเฝ้าระวังปี 2555.
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
PCT กุมารเวชกรรม รพ.เชียงรายฯ
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
ไข้เลือดออก.
จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปี2554 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด จ.สงขลา

ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา บริบท การรับประทานยาต้านไวรัสอย่างสม่ำเสมอ และตรงเวลา ถือเป็นหัวใจของการปฏิบัติตัวที่ สำคัญของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ และส่งผลให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสมี ประสิทธิภาพสูงสุด ลดค่าใช้จ่ายให้ประเทศชาติ ป้องกันความล้มเหลวในการรักษา ลดอัตราการ เจ็บป่วยและตายด้วยโรคเอดส์ ทางทีมงานคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนดจึงมีโครงการ เฝ้าระวังและป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในปี 2555 ขึ้นโดย 1. ดูแลให้ผู้ป่วยไม่ขาดยา (ไม่ ขาดนัด) 2. ตรวจ CD4, VL ตามเกณฑ์ 3. ตรวจ DR ในกรณีมีความเสี่ยงต่อการล้มเหลวในการ รักษา 4. เปลี่ยนสูตรยาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญอย่างรวดเร็วเมื่อมีการดื้อยา 5. แก้ไขปัญหา รายบุคคลในกรณีมีความเสี่ยงต่อการล้มเหลวในการรักษา และ6. เน้นย้ำความสำคัญของการ รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ ผลจากการเฝ้าระวังและป้องกันความล้มเหลวในการรักษาพบว่า ในปี2555 คลินิกยาต้าน ไวรัสโรงพยาบาลระโนด มีจำนวนผู้ป่วยดื้อยาลดลง จาก 19 ราย ในปี 2554 เหลือ 9 รายในปี 2555 มีการดูแลและแก้ไขปัญหาการขาดนัดและรับประทานยาไม่สม่ำเสมอได้อย่างแท้จริง

ประเด็นคุณภาพ/ ความเสี่ยงที่สำคัญ 1. ผู้ป่วยขาดนัด/ ขาดยา 2. ผู้ป่วยขาดการตรวจ CD4, VL ตามเกณฑ์ 3. เกิดความล่าช้าของระบบการตรวจเชื้อ DR 4. เกิดความล่าช้าในระบบการเปลี่ยนสูตรดื้อยา 5. จนท. ไม่สามารถแก้ปัญหาความเสี่ยงต่อความล้มเหลวในการรักษาได้ไม่ตรงกับปัญหาของผู้ป่วย 6. ผู้ป่วยขาดแรงกระตุ้น เตือนถึงความสำคัญของการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ

วัตถุประสงค์ 1. อัตราผู้ป่วยขาดนัดน้อยกว่าร้อยละ 20 2. อัตราผู้ป่วยขาดยาเกิน 6 เดือนน้อยกว่าร้อยละ 10 3. เกิดเชื้อดื้อยาน้อยกว่า ร้อยละ 5 4. ผู้ป่วยรับประทานยาสม่ำเสมอ(มากกว่าร้อยละ 95) ร้อยละ 90 5. ผู้ป่วยเอดส์ตายน้อยกว่าร้อยละ 2

ระยะเวลาดำเนินการ 1 ต.ค.54- 30 ก.ย.55

วิธีดำเนินการ 1.ประชุมทีมงานคลินิกยาต้านเพื่อชี้แจงแนวทางการเฝ้าระวังและป้องกันความล้มเหลวใน การรักษา 2. พัฒนาระบบ ติดตามผู้ป่วยขาดนัด ให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และต่อเนื่อง

วิธีดำเนินการ 3. พัฒนาระบบการเตือนการตรวจ CD4 และ VL ให้ได้ตามเกณฑ์ 5. เข้าร่วมกับระบบการของคำปรึกษาทาง internet กับรพ.ศูนย์ เพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการ เปลี่ยนสูตรยา

ผลการดำเนินงานปี 2554-2555 ตัวชี้วัด 1. อัตราผู้ป่วยขาดนัด เป้าหมาย ผลงานปี 2554 ผลงานปี 2555 1. อัตราผู้ป่วยขาดนัด <ร้อยละ 20 10.58 (142/1,342) 10.87 (183/1,1683) 2. อัตราผู้ป่วยขาดยาเกิน 6 เดือน <ร้อยละ 1 2.6 0.03 3. เกิดเชื้อดื้อยา <ร้อยละ 5 7.3 3.2 4.ผู้ป่วยรับประทานยาสม่ำเสมอ(มากกว่าร้อยละ 95) ร้อยละ 90 ร้อยละ 90 92.77 94.12 5. ผู้ป่วยเอดส์ตายน้อยกว่าร้อยละ 2 100 6. การติดตามระดับ CD4ทุก 6 เดือน ร้อยละ 80 32.53 76.47 7. การติดตามระดับ VL ทุกปี 90.36 97.32

แผนการพัฒนาต่อเนื่อง 1. พัฒนาระบบการติดตามการขาดนัดโดยใช้ computer 2. พัฒนาระบบบันทึกปัญหาและการให้ความรู้ตาม HIV Treatment literacy   3. เขียนโครงการพัฒนางานตามปัญหาตัวชี้วัด 4. ศึกษาความพึงพอใจผู้รับบริการ