กลุ่มที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดที่ดิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบทรัพย์สินถาวร KKUF MIS
Advertisements

วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ไม่ต้องกันเงินใช้มาตรการ ที่ นร 0506/ว 123 ลว. 14 มิถุนายน 2553
การประชุมผู้บริหารกรม
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
การติดตาม และประเมินโครงการ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
รายงานผลการดำเนินงานของ รัฐต่อสาธารณะ ประจำปี 2554 โดย กลุ่มงานมาตรฐาน สำนักพัฒนามาตรฐาน.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
1 กพร. และ สวผ. กรอบคำรับรอง ค่าน้ำหนัก และเกณฑ์คะแนนตาม มาตรฐานตัวชี้วัด ( รอบที่ ๒ ) เมษายน - กันยายน ๒๕๕๖.
แผน - ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1-2/2552
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
แผนงานจัดที่ดินทำกิน ปีงบประมาณ 2553
โครงการศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
นายตวลวุฒิ ยอดพยุง นิติกรชำนาญการ ส.ป.ก.แพร่
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
โครงการ จัดทำระบบบริหารจัดการข้อมูลงานรังวัดเพื่อการชลประทานและแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เหตุผลความจำเป็น การก่อสร้างโครงการชลประทานมีการจ่ายเงินค่าชดเชย.
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
Geographic Information System
กลุ่มที่ 1.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
ชี้แจงขั้นตอนการทำประชาคม / การออกใบรับรอง และแนวทางการแก้ไขปัญหา ระบบการรับขึ้นทะเบียนการปลูกข้าว 3 มีนาคม 2553.
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
ระบบรับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 ภ.จว.นครศรีธรรมราช (Call Center)
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
กรณีตัวอย่างการจัดซื้อจัดจ้าง
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
มิติผลการปฏิบัติงาน (Performance) คะแนน ร้อยละความสำเร็จของการจัดที่ดิน ร้อยละความสำเร็จของการจัดที่ดินทำกิน พื้นที่ X-ray การรังวัด.
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
การบ้าน 1. ตรวจสอบข้อมูลพื้นฐาน 1) ราชาวดี รายตำบล 2) Digital map 3) แผนที่ 2. เตรียมการวางแผนงานภาพรวม 1) ที่ดินของรัฐ 2) ที่ดินชุมชน.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
โครงการอบรมสร้างเสริมประสบการณ์บุคลากร รพ. สต
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดที่ดิน การปรับปรุงฐานข้อมูลเพื่อวางแผนการจัดที่ดิน ปัญหา แนวทางแก้ไข 1. แนวเขต พ.ร.ฎ. ไม่ตรงตาม ข้อเท็จจริงในภูมิประเทศ/ การถ่ายทอดขอบเขตแผนที่ ไม่ตรงกัน - ให้ใช้แผนที่ส่งมอบ 1:50,000 ถ่ายทอดเขตแผนที่แนบท้าย พ.ร.ฎ. ให้ละเอียดถูกต้องตรงกับข้อเท็จจริง - ให้ยึดขอบเขตตามท้ายร่างฯ เป็น หลักในการทำงานก่อนพื้นที่อยู่นอก พ.ร.ฎ.ให้ประกาศเพิ่มภายหลัง

ปัญหา แนวทางแก้ไข 2. แผนที่เขตตำบลตามกรม การปกครองไม่ตรงกับพื้นที่จริง 2. แผนที่เขตตำบลตามกรม การปกครองไม่ตรงกับพื้นที่จริง 3. ข้อมูลที่ตั้งแปลงที่ดินรายตำบล ไม่ตรงตามเขตกรมการปกครอง 4. พื้นที่คงเหลือไม่ตรงตามข้อ เท็จจริง (พท.คงเหลือ = พท.พรฎ.-พท.กันออก-พท.จัดแล้ว) - ขอรายละเอียดประกาศกำหนดเขต การปกครองรายตำบลจาก กรมการปกครองตรวจกับแผนที่ - ส่วนที่มีความคลาดเคลื่อนมากให้ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ให้ยึดแนวเขตตามกรมการปกครอง เป็นหลัก - จัดทำ ปรับปรุงพื้นที่กันออกแยก ประเภทต่างๆให้ชัดเจน เช่น หนังสือ สำคัญ ที่สาธารณะฯ ป่าชุมชน ฯลฯ

ปัญหา แนวทางแก้ไข 5. เอกสาร/แผนที่ ชำรุด/สูญหาย 5. เอกสาร/แผนที่ ชำรุด/สูญหาย แผนที่บางส่วนยังไม่เป็นระบบ UTM 6. ข้อมูล Digital Map ไม่ตรงฐาน ข้อมูลราชาวดี - มีแผนที่ไม่มีในฐานข้อมูล - มีในฐานข้อมูล ยังไม่มีใน Digital Map - จัดทำเพิ่ม/จัดสารบบแผนที่ ปรับปรุงระวางแผนที่เป็น UTM - รังวัดซ่อมส่วนที่ขาด/สูญหาย โดย ส่วนกลางจัดค่าใช้จ่าย - บันทึกข้อมูลเพิ่มเติมในฐานข้อมูล - จัดทำ Digital Map เพิ่มเติม ให้ครบถ้วน

ปัญหา แนวทางแก้ไข 7. ฐานราชาวดีมีข้อมูลไม่ครบ 7. ฐานราชาวดีมีข้อมูลไม่ครบ เช่น หนี้สิน แหล่งน้ำ (ประเภท ขนาด) ฯลฯ และหรือบางฟิลด์ ยังบันทึกไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น หมายเลขบัตรประชาชน ฯลฯ - เพิ่มฟิลด์ข้อมูลที่สำคัญและจำเป็น เช่น หนี้สิน แหล่งน้ำ ฯลฯ - ให้ส่วนกลางจัดทำโปรแกรมเชื่อมโยง ข้อมูลทุกประเภท - บันทึกข้อมูลที่สำคัญเพิ่มเติม ให้ครบถ้วน

กลุ่มที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดที่ดิน 2. การจัดที่ดินในปี 2553 ควรปรับปรุงอะไรบ้าง และแนวทางการกำหนดแผนจัดที่ดินในปี 2554 ควรมีรายละเอียดอย่างไร ปัญหา แนวทางแก้ไข 1. การจัดเก็บสารบบที่ดินยัง ไม่สมบูรณ์ 2. สถานที่จัดเก็บสารบบไม่ เพียงพอ 3. ตู้จัดเก็บเอกสารไม่เพียงพอ 4. เจ้าหน้าที่รับผิดชอบไม่เพียงพอ/ ไม่มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง - ให้จัดเก็บซองเอกสาร 4-06 เรียง ตามกลุ่ม/แปลง ค้นหาง่าย - จัดหาสถานที่หรือสร้างอาคาร จัดเก็บเพิ่ม - จัดซื้อเพิ่ม - เพิ่มเจ้าหน้าที่/กำหนดเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบโดยตรง

ปัญหา แนวทางแก้ไข 5. การจัดเอกสารในซอง 4-06 5. การจัดเอกสารในซอง 4-06 6. ยังไม่มีโปรแกรมบันทึกการ เปลี่ยนแปลงสถานะการจัดที่ดิน - ให้เรียงตามลำดับจากเรื่องเก่า สู่เรื่องใหม่ - จัดทำโปรแกรมบันทึกวันที่มีการ เปลี่ยนแปลงสถานะการจัดที่ดิน

แนวทางการจัดที่ดิน ปี 2553 การรังวัดให้จัดทำเป็นระบบมาตรฐาน UTM ตามข้อกำหนด ส.ป.ก. การจัดที่ดินเกษตรกรรมกับที่ดินชุมชนให้ทำ ควบคู่กันไปเป็นรายอำเภอ ให้จังหวัดจัดทำแผนปฏิบัติการให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด ตามไตรมาสหากไม่ทันให้ขอความช่วยเหลือจากส่วนกลางโดยเร็ว จัดอบรม ปรับปรุงฐานข้อมูลแผนที่ และสารบบที่ดิน ในเดือนตุลาคม 2552 5. ที่ดินแปลงใหญ่ และที่ไม่เข้าสู่กระบวนการ - เจรจาจ่ายค่าชดเชยที่เป็นธรรม - ใช้มาตรการทางกฎหมาย