โดย รศ.ดร.ชัยณรงค์ คันธพนิต ประธานกรรมการบริหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
Product and Price ครั้งที่ 8.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
Computer Application in Customer Relationship Management
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์การคัดเลือก และเงื่อนไข “ร้านถูกใจ”
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
ศูนย์ข้าวชุมชนบ้านหมี่ ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
แนวคิดเครือข่ายและการประยุกต์ใช้ทางธุรกิจ
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
ผลการ ดำเนินงาน โดย : อรุณี เจริญ ศักดิ์ศิริ. มติ คชก. 14 พย. 50 กรมการค้า ภายใน กรมบัญชีกลาง แจ้งให้ทำ 20 พย. 50 ขอเบิกเงิน 8 มค.51 โอนเงินให้ 17 มค.51.
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำนักจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
การประมูลจัดซื้อจัดจ้างแบบ on-line E-Auction
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย รศ.ดร.ชัยณรงค์ คันธพนิต ประธานกรรมการบริหาร การดำเนินงานของสหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จำกัด โดย รศ.ดร.ชัยณรงค์ คันธพนิต ประธานกรรมการบริหาร

สหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จำกัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2536 ที่ตั้ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทรศัพท์ 034 281 683 โทรสาร 034 352 055

การผลิต เนื้อโคขุนคุณภาพสูง เพื่อทดแทนการนำเข้า ปัจจุบันผลิตอยู่ปีละ 1,500 ตัว มูลค่า 50.5 ล้านบาท โคที่ลงทะเบียนเพื่อการหมุนเวียน 1,800 ตัว จำนวนฟาร์มสมาชิกที่ขุน 55 ฟาร์ม สมาชิกสหกรณ์ 183 คน

การตลาด แบร์นสินค้า KU Beef สโลแกน “เนื้อนุ่ม จากโคหนุ่ม ไขมันน้อย” จำหน่ายเป็นเนื้อซากเย็น (Chill Carcass) จำหน่ายเป็นเนื้อชิ้นส่วนใหญ่ (Wholesale Cut) จำหน่ายเป็นเนื้อชิ้นส่วนย่อย (Retail Cut)

ลูกค้า ห้างโมเดินเทรด เทสโก้โลตัส คาร์ฟูร์ เดอะมอลล์ ตั้ง ฮั้ว เส็ง ผู้ประกอบการ บริษัท โชคชัย อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท บาร์บีคิวพลาซ่า บริษัท วอนนิวไทย บริษัท ไทยพรีเมี่ยม บริษัท เอฟแอนด์บี ฟูดส์ เซอร์วิซ บริษัท การบินไทย บริษัท บีเอ็ม ควอลิตี้ฟูดส์ จำกัด

การขุน ลงทะเบียนที่น้ำหนัก ระยะการขุน 8-10 เดือน อาหารข้น หรืออาหารผสมเสร็จ (TMR) น้ำหนักที่เข้าฆ่า 550-650 กิโลกรัม สมาชิกสหกรณ์มีกำไรประมาณการตัวละ 5,000-8,000 บาท

ปัญหาการผลิต อาหารสัตว์มีราคาสูง ตัวโคก่อนเข้ากระบวนการขุนหาซื้อยาก และมีราคาแพง ระบบการผลิตโคเนื้อ วัคซีน

ปัญหาการตลาด การเปิดการค้าเสรี เนื้อลักลอบนำเข้า การประชาสัมพันธ์ในเรื่องเนื้อคุณภาพ ภาพลักษณ์ (Image) ของเนื้อโคไทย ข่าวเกี่ยวกับโรคระบาด จุดจำหน่ายเนื้อโคขุนของสหกรณ์ ระเบียบและกฎหมาย เช่น ห้ามฆ่าโคเพศเมีย การเคลื่อนย้ายสัตว์

อนาคตของสหกรณ์ฯ ปี 2550 การผลิตเนื้อโคขุน ไม่ต่ำกว่าเดือนละ 180 ตัว มีโรงฆ่าสัตว์พร้อมห้องเย็นใหม่ มีจุดจำหน่ายเนื้อโคขุน (Butcher Shop) ของสหกรณ์เอง 2 จุด ใช้วิธีการจัดจำหน่ายเนื้อในรูปแบบใหม่ เช่น traceability มีการผลิตสินค้า เนื้อโคขุนร่วมกับเจ้าของแบรนด์ เช่น Natural Beef ปรับปรุงระบบการจัดการขนส่ง (logistic) มีการทำงานร่วมกับเครือข่ายต่างๆ

การวางระบบเครือข่ายในจังหวัด เครือข่ายกลางน้ำ ผู้ซื้อลูกโคอย่านม จากเครือข่ายต้นน้ำ มาเลี้ยงในแปลงหญ้า เครือข่ายต้นน้ำ ผู้เลี้ยงแม่พันธุ์ เพื่อผลิตลูก เครือข่ายปลายน้ำ ผู้ซื้อโคจาก เครือข่ายกลางน้ำ เข้าสู่ระบบขุน เครือข่ายผู้ผลิตอาหารสัตว์ ผู้ผลิตนาหญ้า ผู้ปลูกมันสำปะหลัง

การสร้างเครือข่าย (Cluster) กระตุ้นและส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่ม วิเคราะห์สถานภาพของเครือข่าย เพื่อกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย กำหนดยุทธศาสตร์ของแต่ละเครือข่าย ปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์

ประโยชน์ที่เห็นเด่นชัด ในการสร้างเครือข่ายธุรกิจโคเนื้อ ลดต้นทุนการจัดซื้อ แบ่งหน้าที่และร่วมผลิตสินค้าตามลักษณะพื้นที่ที่ใช้เลี้ยงโค แบ่งภาระค่าใช้จ่าย ค่าบริหารจัดการ ร่วมกันเจรจาต่อรองตกลงได้ ร่วมกันทำการตลาด การขาย แบ่งผลกำไร ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐได้สะดวก เช่น สปก., สศก. เป็นต้น

แนวทางการร่วมเป็นเครือข่าย สหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จำกัด เครือข่ายในการผลิตลูกโคจำหน่ายให้กับสหกรณ์ เครือข่ายในการเป็นผู้ขุนโคในฐานะสมาชิกกลุ่มให้กับสหกรณ์ฯ เครือข่ายในการใช้ข้อมูล แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์

เครือข่ายในการผลิตลูกโค จำหน่ายให้กับสหกรณ์ ต้องเป็นโคอย่านมน้ำหนักใกล้เคียงกัน จำนวนพอเพียงต่อการจัดระบบขนส่ง มีคอกรวมโคจำหน่ายเพื่อสะดวกในการคัดเลือก ต้องแจ้งจำนวนโคที่จะจำหน่ายล่วงหน้า 1 เดือน

เครือข่ายในการเป็นผู้ขุนในฐานะสมาชิกกลุ่มให้กับสหกรณ์ฯ กลุ่มเครือข่ายต้องปฏิบัติตามระเบียบคู่มือการขุนของสหกรณ์ กลุ่มเครือข่ายต้องรับผิดชอบและบริหารกันเอง กลุ่มเครือข่ายต้องแจ้งให้สหกรณ์ทราบว่าจะสามารถผลิตโคขุนส่งให้สหกรณ์ฯ เดือนละกี่ตัว สหกรณ์ฯ จะเป็นผู้กำหนดโควตาของกลุ่มเครือข่ายในการส่งโคให้สหกรณ์

เครือข่ายในการใช้ข้อมูล แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ เรื่องภาวะตลาดโคเนื้อในประเทศ เรื่องผลกระทบตามข้อตกลงการค้าเสรี เรื่องเงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เรื่องภาวะอาหารสัตว์ เรื่องพันธุ์โค เรื่องตลาดโคเนื้อต่างประเทศ เรื่องการประกวดพันธุ์โคเนื้อ

ความร่วมมือกับ สปก. ในปี 2550

สวัสดี