การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552
ผลลัพธ์แผนเงินบำรุง ปีงบประมาณ 2552 ด้านรายรับ ( ยกเว้นหมวดงบประมาณ ) ( ต. ค.51 – เม. ย.52)
ผลลัพธ์แผนเงินบำรุง ปีงบประมาณ 2552 ด้านรายจ่าย ( ยกเว้นหมวดงบประมาณ ) ( ต. ค.51 - เม. ย.52)
ปีงบประมาณ 2552 รายรับรายเดือน ( ยกเว้นหมวดงบประมาณ ) ( ต. ค.51 - เม. ย.52)
ปีงบประมาณ 2552 รายจ่ายรายเดือน ( ยกเว้นหมวดงบประมาณ ) ( ต. ค.51 - เม. ย.52)
เจ้าหนี้การค้า ณ 30 เมษายน 2552
การเปลี่ยนสภาพลูกหนี้สิทธิข้าราชการ เบิกคลัง IP,OP/ เบิกต้นสังกัด เป็นเงินสด ปีงบประมาณ 2552
ลูกหนี้ค่ารักษา ณ 30 เมษายน 2552
การบริหารประสิทธิภาพทรัพยากร การเงินการคลัง สภาพคล่องปีงบประมาณ 2552 ค่าปกติ = 1 ประสิทธิภาพ - ตามเกณฑ์ = 100% - ตกเกณฑ์ = 0%
การบริหารประสิทธิภาพทรัพยากร การเงินการคลัง
ค่าปกติ = 1.5 ประสิทธิภาพ - ตามเกณฑ์ = 100% - ตกเกณฑ์ =0%
ค่าปกติ = 0.8 ประสิทธิภาพ - ตกเกณฑ์ = 0% - ตามเกณฑ์ =100%
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สถานการณ์ด้านการเงิน 1. สภาวะสถานการณ์ด้านการเงินการคลังมีค่า ระดับ 7 ( ปกติ )) * เนื่องจาก ทุนสำรองสุทธิเป็น บวก, ส่วนต่างรายรับรายจ่ายต่อเดือนเป็น บวก ดัชนีสินทรัพย์สำรองสุทธิ มากกว่า 0 2. I/E = 1.14 มีค่า มากกว่า 1 สามารถบริหารรายรับและยังควบคุม รายจ่ายได้ดี 3. ความสามารถในการควบคุมต้นทุน (Profitability Ratio มีค่า +,-,+) Back office Problem คือค่าใช้จ่ายด้านสนับสนุนสูง ต้องควบคุมค่าใช้จ่าย สภาพคล่องทางการเงิน 1. ประสิทธิภาพการบริหารสภาพคล่อง 1.1 Cash Ratio = 1.76 ปกติ 1.2 QR = 1.66 ปกติ 1.3 CR = 1.97 ปกติ 1.4 หนี้สิน 6,849, บาท 1.5 เงินบำรุง รพ. คงเหลือ 9,318, บาท
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและบริหารจัดการ ด้านทรัพยากร 1. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ลูกหนี้ค่ารักษาตามจ่าย UC 88 วัน, เบิกคลังและต้นสังกัด เท่ากับ 56 วัน ( เกณฑ์ ปกติ 90 วัน ) มีประสิทธิภาพ ส่วนค่ารักษาประกันสังคม 110 วัน เกินเกณฑ์ เนื่องจากรอจัดสรรจากแม่ข่าย 2. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้เจ้าหนี้การค้า 85 วัน, ยา / เวชภัณฑ์ 91 วัน ( เกินเกณฑ์ ) การชำระหนี้ค่ารักษา ตามจ่าย UC ในจังหวัด 39 วัน, นอกจังหวัด 38 วันอยู่ใน เกณฑ์ปกติ ( เกณฑ์ปกติ 90 วัน ) มีประสิทธิภาพ 3. ต้นทุนบริการและต้นทุนดำเนินการด้านการ รักษาพยาบาลตามเกณฑ์มาตรฐาน 4. ทุนสำรองสุทธิพอเพียงต่อค่าใช้จ่าย ประมาณ 3.7 เดือน ตามเกณฑ์มาตรฐาน 5. อัตราหมุนเวียนของวัสดุ / ยาเวชภัณฑ์อยู่ในเกณฑ์ดี มี ประสิทธิภาพ