LOGO การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน (IT)
ปัญหาเดิม รพ.สต.บางแห่งไม่มีระบบ Internet ที่ เพียงพอต่อความต้องการ เนื่องจาก ที่ตั้ง รพ.สต. อยู่ในพื้นที่ห่างไกลและยังไม่มีคู่สาย โทรศัพท์บริเวณนั้น ใช้ Internet ผ่านจานดาวเทียม(IP-Star) ซึ่งราคา แพง และประสิทธิภาพต่ำ(ทั้งความเร็วและความ เสถียรของสัญญาณ)
รายชื่อ รพ.สต. ที่มีปัญหาการใช้งาน Internet อำเภอรพ.สต.ความเร็ว internet ค่าบริการ (บาท) หมายเหตุ 1หนองหญ้าปล้องพุพลู1Mbps/512Kbps1,391 2หนองหญ้าปล้องท่าเสลา1Mbps/512Kbps1,391 3หนองหญ้าปล้องอ่างศิลา1Mbps/512Kbps1,391 4หนองหญ้าปล้องยางน้ำกลัดเหนือ1Mbps/512Kbps1,391 5ชะอำโป่งแย้1Mbps/512Kbps1,391 6ท่ายางหุบเฉลา1Mbps/512Kbps1,391 7บ้านแหลมบางสามแพรก1Mbps/512Kbps1,391 8ท่ายางทุ่งโป่ง1Mbps/512Kbps1,391 9แก่งกระจานแม่คะเมย1Mbps/512Kbps1,391 10แก่งกระจานเขากลิ้ง1Mbps/512Kbps2,650พื้นที่เป็นแอ่งกระทะ 11แก่งกระจานห้วยแม่เพรียง1Mbps/512Kbps1,391 ทุกแห่งใช้ Internet IP-Star (จานดาวเทียม) ของ TOT
แนวทางแก้ปัญหา 1.ติดต่อกับ CAT ให้สำรวจพื้นที่ที่มีปัญหาการใช้ Internet เพื่อประเมินวิธีปรับปรุงระบบการใช้งาน 2.ศึกษาความเป็นไปได้ในการนำสัญญาณ Internet ไร้สายไปติดตั้งคู่กับเสาวิทยุสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน Internet 3.ศึกษาข้อจำกัดของระบบ Internet ผ่าน ดาวเทียม (IP-Star)
ความคืบหน้า 1. ติดต่อกับ CAT ให้สำรวจพื้นที่ที่มีปัญหาการใช้ Internet เพื่อ ประเมินวิธีปรับปรุงระบบการใช้งาน -ทาง CAT ได้เสนอ การแก้ปัญหาโดยการวางระบบเครือข่ายที่ ครอบคลุมทั้งจังหวัด แต่แบ่งการดำเนินงานเป็น 5 ระยะโดยไม่ เสียค่าอุปกรณ์แต่จะเสียค่าบริการรายเดือน เดือนละประมาณ 5,000 บาท ต่อ แห่ง 2. ศึกษาความเป็นไปได้ในการนำสัญญาณ Internet ไร้สายไปติดตั้ง คู่กับเสาวิทยุสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน Internet - สามารถทำได้โดยวางจุดส่งสัญญาณหลักในจังหวัด 3 จุดคือ รพ.พระจอมเกล้าฯ,รพ.ท่ายาง,รพ.แก่งกระจานฯ เพื่อส่ง สัญญาณให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด 3. ศึกษาข้อจำกัดของระบบ Internet ผ่านดาวเทียม (IP-Star) - พบว่าไม่คุ้มค่าเมื่อเทียบราคากับคุณภาพสัญญาณ