บทที่ 8 การจัดเรียงแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนการลงทะเบียน แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
ป.4 บทที่ 1 “จำนวนนับ เกิน100,000”
สำรวจข้อมูลโรงงาน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลโรงงาน
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
INDEXED FILES แฟ้มดรรชนี.
Tips : หลักการในการออกแบบฐานข้อมูล
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
ระบบบริหารครุภัณฑ์ทางการแพทย์ (MES)
การจัดการข้อมูล (Data management).
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
Arrays.
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
Use Case Diagram.
คิวQueue Circular Queue.
การสร้างจดหมายเวียน.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
Introduction to Cache Memory Systems
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล (ต่อ)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เทคนิคการเรียงลำดับ Sorting Techniques
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
การวิเคราะห์ข้อมูล.
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
การพัฒนาระบบงานโดยเทคนิคเชิงโครงสร้าง
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
บทที่ 12 ฐานข้อมูล.
Chapter 1 : Introduction to Database System
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
Data Structure and Algorithms
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยให้การทำงานถูกต้อง และแม่นยำ จัดทำโดย ด. ช. นพฤทธิ์ มายอง เลขที่ 21 ด. ช. พชร อำพนพันธุ์ เลขที่ 23.
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
Magnetic Tape แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล คำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ ปัจจุบันเราถือว่าข้อมูล.
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
Dissertation Full text เป็นการ สืบค้นด้วยระบบ IR-Web โดยมีขอบเขต เนื้อหา เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม อิเล็กทรอนิกส์ 3,850 ชื่อเรื่อง ที่สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 การจัดเรียงแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี Indexed Sequential File Organization

นิยามการประยุกต์ใช้ การพัฒนาอุปกรณ์ชนิดเข้าถึงโดยตรงได้ทำให้เราสามารถดัดแปลงแฟ้มลำดับที่เข้าถึงระเบียนได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่ม แฟ้มลำดับเชิงดรรชนีคือ วิธีการจัดเก็บระเบียนให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เข้าถึงระเบียนแบบลำดับโดยเขตหลักบางตัว และยังสามารถเข้าถึงระเบียนหนึ่งระเบียนระเบียนใดแบบสุ่มโดยเขตหลักตัวเดี่ยวกันนั้น ข้อกำหนดที่สำคัญ คือ ทุกระเบียนจะต้องมีไพรมารีคีย์และแฟ้มข้อมูลจะต้องเก็บอยู่ในอุปกรณ์ DASD

เนื่องจากแฟ้มที่สามารถเข้าถึงระเบียนได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่ม ดังนั้นลักษณะงานที่เหมาะสมมักอยู่ในรูปของ batch และ Interactive processing เช่น ระบบบัตรเครดิต

ตัวอย่างลักษณะงานที่ต้องใช้ระบบนี้คือ Class Records พิมพ์รายชื่อและที่อยู่นักศึกษาทั้งหมด คำนวณอายุเฉลี่ยของนักศึกษา คำนวณค่า GPA คำนวณจำนวนหน่วยกิจทั้งหมดที่นักศึกษารุ่นปัจจุบันลงทะเบียน เปลี่ยนสถานะนักศึกษา แสดง Grade แทรกระเบียนของนักศึกษาใหม่ ถอนหรือลบชื่อนักศึกษาที่ลาออก 1-4 เข้าถึงแบบลำดับ 5-8 เข้าถึงบางระเบียนแบบสุ่ม

โครงสร้างระเบียนแฟ้มลำดับเชิงดรรชนีใช้กันมี 2 แบบ Prime and overflow data areas (static) Block indexes and data (dynamic) ทั้ง 2 แบบต่างก็แยกเนื้อที่ส่วนดรรชนี ออกจากส่วนของข้อมูล และต่างก็ต้องเก็บในอุปกรณ์ DASD

Prime and overflow data areas โครงสร้างแบบนี้เกี่ยวข้องกับลักษณะทางกายภาพของอุปกรณ์บันทึกข้อมูล โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. ส่วนดรรชนี (Index file) ส่วนช่วยให้เข้าถึงข้อมูลได้ 2. ส่วนข้อมูล (Data file) ส่วนเก็บระเบียนข้อมูล 2.1 ส่วนเก็บข้อมูลมีโครงสร้างแฟ้มลำดับเรียงตามไพรมารีคีย์ 2.2 เนื้อที่ส่วนล้น เก็บระเบียนส่วนล้น

ส่วนดรรชนี สร้างขึ้นโดยระบบการดำเนินงาน โดยส่วนเก็บข้อมูลหลักอาจเป็นเลขแทรค หรือเลขที่ Cylinder ก็ได้ โดยแบ่งเป็น 3 ระดับด้วยกัน 1. Master index มีหรือไม่มีก็ได้ ใช้เก็บเลขที่ของแทรคใน Cylinder index มีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหา 2. Cylinder index ใช้บอกการกระจายตัวของระเบียน 3. track index เป็นดรรชนีระดับต่ำสุดปกติอยู่ในแทรคแรกสุด (แทรค 0) และมีไว้ชี้บอกตำแหน่งที่เก็บของระเบียนของ Prime track ในแต่ละ Cylinder

การสร้างแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี ระเบียนต่างๆจัดเก็บตามลำดับของไพรมารีคีย์ หลักจากบันทึกคีย์สุดท้าย O.S.จะบันทึกคีย์สูงสุดไว้ใน normal entry ของ Track index