บทที่ 7 การเรียงลำดับแบบภายนอก External Sorting

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting).
Advertisements

ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
แนวทางการกำหนดกรอบอัตรากำลัง 4 ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ
การใช้งานเมนูคำสั่งของ Microsoft Excel 2003
ตัวอย่างการหาทางเลือกที่ดีที่สุด(optimization)
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ออกแบบการนำเทคโนโลยีกระบวนการ
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
SORTING.
การเรียงลำดับและการค้นหาแบบง่าย
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดเรียงข้อมูล Sorting.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี อ.เลาขวัญ งามประสิทธิ์
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Project Management.
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
จดหมายเวียน (Mail Merge)
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี อ.เลาขวัญ งามประสิทธิ์
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การสร้างจดหมายเวียน.
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
บทที่ 2 การประมวลผลข้อมูล
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
โครงการ นครพนม 1 ขั้นตอนที่ 3 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษาในชั้นเรียน.
บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
ข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Data Structure and Algorithm
การจัดเรียงข้อมูล Sorting Internal Sorting External Sorting.
บทที่ 7 การเรียงลำดับภายนอก External sorting
บทที่ 8 การจัดเรียงแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
เทคนิคการเรียงลำดับ Sorting Techniques
เทคนิคการค้นหาข้อมูล
การเขียนรายงานต่อฝ่ายริหาร
บทที่ 5 เทคนิคการค้นหาข้อมูล (Searching Techniques)
Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management.
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง Secondary Storage Unit
การวิเคราะห์เนื้อหา.
โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การรับ - ส่งข้อมูลการเคลือบหลุม ร่องฟัน. CUP ส่งข้อมูลให้ สสจ.
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
เครื่องวัดแสง Foot Candle Lux
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
ข้อมูลและสารสนเทศ.
Magnetic Tape แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
CPE Project 1 บทที่ 2. ภาพรวม บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ ทฤษฎี (theory) = สมมติฐานที่ได้รับการตรวจสอบ และทดลองหลายครั้งหลายหนจนสามารถอธิบาย ข้อเท็จจริงสามารถคาดคะเนทำนายสิ่งที่เกี่ยวข้อง.
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
การค้นหาข้อมูลหลักผู้ขาย การสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การเรียงลำดับแบบภายนอก External Sorting นายบุญค้ำ จุลเจือ วิทยาลัยชุมชนตราด

ความนำ การเรียงลำดับภายในดังที่กล่าวในบทที่ 6 นั้นข้อมูลทั้งหมดจะต้องพร้อมอยู่ใน หน่วยความจำ ซึ่งไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่ ในหัวข้อนี้จะกล่างถึงการ เรียงข้อมูลจำนวนมากๆ Sort sublist 1 MERGE Merge list (record1-1000) Sort sublist 2 (sort list of record 1-2000) (record 1001-2000) การเรียงลำดับภายนอกส่วนใหญ่จะใช้หลักการคือ แบ่งระเบียนบอกเป็นกลุ่มย่อยๆ จากนั้นนำระเบียนกลุ่มย่อยจัดการเรียงข้อมูลแบบภายใน จากนั้นจึงนำข้อมูลมา ผสานกันเป็นแฟ้มเดียว แฟ้มย่อยที่ถูกเรียงลำดับแบบภายในเรียกว่า RUN

การเรียงลำดับแบบภายนอกมี 3 ขั้นตอนคือ 1.Internal sort phase ช่วงการเรียงลำดับแบบภายนอกจะทำการเรียง หลายๆ ครั้ง โดยกระจาย run ไปเก็บในอุปกรณ์บันทึกข้อมูลภายนอกหลายๆที่ 2.Merge phase ช่วงการรวบรวม run ต่างๆ ให้เป็น run เดียวกัน 3.Out phase ช่วงการคัดลอกแฟ้มที่เรียงแล้วไว้ในสื่อข้อมูล เทคนิคของการเรียงลำดับแบบภายนอกอาจแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ 1.วิธีการเรียงลำดับภายในที่เลือกใช้ 2.การจัดสรรเนื้อที่หน่วยความจำ 3.การกระจาย run ต่างๆ ในอุปกรณ์บันทึกข้อมูล 4.จำนวน run ที่ใช้ในการผสานแต่ละรอบ

การผสานของการเรียงลำดับภายนอกมีหลายวิธีดังนี้ 1. Nalural merge 2. Balanced merge 3. Polyphase merge 4. Cascade merge

1. Nalural merge 1. Internal sort Phase การผสานครั้งละ 2 input เรียกว่า two-way-merge ถ้าผสานครั้งละ M input เราเรียกว่าM-way-merge เมื่อ M คือ degree ของการผสาน 6000 record Internal Sort phase 6 record subfiles

2. Merge Phase ใช้ 2-way merge จะต้องใช้เทป 3 ม้วน 2 2. Merge Phase ใช้ 2-way merge จะต้องใช้เทป 3 ม้วน 2.1 กระจายเทป run ไปสู่เทป 2 ม้วน 2.2 Merge pass1 T1:R1-R1000,R2001-R3000,R4001-R5000 T2:R1001-R200,R3001-R4000,R5001-R600 T3:empty เมื่อผ่านการ merge จะได้ T3:R1-R2000,R2001-R4000,R4001-R600 1 Merge pass1 3 R4001-r5000 , R2001-R3000 , R1-R1000 2 R1-R2000 R2001-R4000 R4001-R600 R5001-R6000 , R3001-R4000 , R1001-R2000

2.3 กระจาย Sorted runs (R1-R2000)จากเทป 3 ไปที่เทป 1 2.4 Merge pass2 T1:R1-R2000 T2:R2001-R4000(R4001-R6000) เมื่อผ่านการ Merge pass2 T2:R1—R4000 2 1 Merge pass2 R1-R4000 R1-R2000 3 R2001-R4000

2.5 Merge pass3 T2:R1-R4000 T3:R4001-R6000,(R2001-R4000) เมื่อผ่านการ Merge pass3 T1:R1-R6000

Balanced Merge 3 1 2 4 การใช้ 2-way balance merge สมมุติมี tape 4 ม้วน 1. กระจาย sorted runs ไปสู่เทป 2. Merge pass1 R 1-1000(run1) R 2001-3000(run3) R 4001-5000(run5) R 4001-4500 R 3001-3500 R 2001-2500 R 1001-1500 R 1-500 3 1 Merge pass1 R 5001-5500 2 4 R 4501-5000 R 3501-4000 R 2501-3000 R 1501-2000 R 501-1000 R 1001-2000(run2) R 3001-4000(run4) R 5001-6000(run6) R 5501-6000

3. Merge pass2 3 1 2 4 Merge Pass 2 run 1 +2; run 5+6 run5 ; run3 ; run1 3 1 Merge Pass 2 2 4 run 3 +4 run6 ; run4; run2

4.Merge pass3 1 3 2 Merge Pass 3 Run 1+2 Run 1 +2 +3+4 (run 5+6)

5.Mrege 4 Run 5+6 1 Merge Pass 4 2 3 run 1+2+3+4+5+6 run 1+2+3+4

การบ้าน สรุปเรื่อง การเรียงลำดับแบบภายนอก External Sorting ใส่กระดาษ A4 1 แผ่น