การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่การปฏิบัติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2551 รองศาสตราจารย์ รังสรรค์ เนียมสนิท รองอธิการบดีฝ่ายแผนและสารสนเทศ 9 ตุลาคม 2551
1 2 3 สาระสำคัญ ผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2550 ม.ขอนแก่น ผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2550 ม.ขอนแก่น 1 2 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 มข. การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่การปฏิบัติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 3
1 ผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2550 ม.ขอนแก่น
มิติที่1 มิติด้านประสิทธิผล 4.5289 มิติที่1 มิติด้านประสิทธิผล มิติที่2 มิติด้านคุณภาพ 4.2666 มิติที่3 มิติด้านประสิทธิภาพ 3.0770 มิติที่4 มิติด้านการพัฒนาสถาบัน 4.0735 4.2533
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 มข.
มิติที่ 1 ตัวชี้วัด น้ำ หนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ 45 • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การบรรลุเป้าหมายที่สะท้อนเอกลักษณ์และจุดเน้น รวมทั้งวัตถุประสงค์เฉพาะตามพระราชบัญญัติของถาบันอุดมศึกษา 10 3.1 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง ฯในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ 2.5 35 36 37 38 39 3.2 จำนวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร 7 8 9 11 3.3 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสถาบันสู่ความเป็นนานาชาติ 3.4 ระดับความสำเร็จของการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ตัวชี้วัด น้ำ หนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 • ผลสำเร็จตามพันธกิจหลัก 4.1.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายในระยะเวลา 1 ปี 81 83 85 87 89 4.1.2 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา 88 90 91 92 4.1.3 ร้อยละเฉลี่ยของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่สอบผ่านได้ใบประกอบวิชาชีพในรอบ 3ปีที่ผ่านมาต่อจำนวนผู้เข้าสอบทั้งหมด 65 70 75 80 4.1.4 ร้อยละของบทความวิทยานิพนธ์ปริญญาโทหรือเอก ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาโทหรือเอก 63.5 65.5 67.5 69.5 71.5 4.2 มาตรฐานด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ 10 4.2.1 ร้อยละของงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำและ/หรือนักวิจัยประจำ 16 18 20 25 30 4.2.2 ร้อยละของงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ที่นำมาใช้อันก่อให้เกิดประโยชน์อย่างเด่นชัดในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำและ/หรือนักวิจัยประจำ 4.2.3 จำนวนผลงานวิชาการที่ได้รับการจดลิขสิทธ์และ/หรือได้รับรองคุณภาพจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ต่ออาจารย์ประจำและ/หรือนักวิจัยประจำ 60 100 5 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาสถาบันสู่สากล
มิติที่ 2 ตัวชี้วัด น้ำ หนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพ 15 คุณภาพการให้บริการ 6 ระดับความพึงพอใจต่อบัณฑิตและบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา การประกันคุณภาพ 7 ระดับความสำเร็จของการประกันคุณภาพที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 10
มิติที่ 3 ตัวชี้วัด น้ำ หนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ 10 การประหยัดพลังงาน 8 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงานของสถาบันอุดมศึกษา การบริหารงบประมาณ 9 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน การลดระยะเวลาการให้บริการ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ การจัดทำต้นทุน ต่อหน่วย 11 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
เฉพาะสถาบัน 11 แห่งที่ทำ PMQA อย่างต่อเนื่อง มิติที่ 4 ตัวชี้วัด น้ำ หนัก ข้อมูลพื้นฐาน 2549 2550 2551 มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาสถาบัน 30 การบริหารการศึกษา 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 5 รวมน้ำหนัก 100 PMQA น้ำหนักร้อยละ 30 เฉพาะสถาบัน 11 แห่งที่ทำ PMQA อย่างต่อเนื่อง 1. ม.ขอนแก่น 5. มรภ.บุรีรัมย์ 9. มรภ.อุดรธานี 2. ม.นราธิวาสราชนครินทร์ 6. มรภ.มหาสารคาม 10. มทร.ธัญบุรี 3. มรภ.พระนครศรีอยุธยา 7. มรภ.ร้อยเอ็ด 11. มทร.รัตน์โกสินทร์ 4. มรภ.นครสวรรค์ 8. มรภ.หมู่บ้านจอมบึง
ตัวชี้วัดที่ 3 การบรรลุเป้าหมายที่สะท้อนเอกลักษณ์และจุดเน้น รวมทั้งวัตถุประสงค์เฉพาะตามพระราชบัญญัติของสถาบันอุดมศึกษา
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสถาบันสู่ความเป็นนานาชาติ ตัวชี้วัดที่ 3.3 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสถาบันสู่ความเป็นนานาชาติ เกณฑ์การประเมิน : ประเด็น น้ำ หนัก หน่วยนับ ข้อมูลย้อนหลัง เกณฑ์ประเมิน 49 50 51 1 2 3 4 5 มีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ 0.5 หลัก สูตร 35 41 42 40 43 44 จำนวนนักศึกษานานาชาติ คน 128 150 166 146 156 176 186 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนไปต่างประเทศ 177 225 130 140 160 170 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนจากต่างประเทศ 21 33 62 67 72 77 83 จำนวนอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญที่มาเยือนจากต่างประเทศ NA 104 155 120 125 135 รวมน้ำหนัก 2.5
ตัวชี้วัดที่ 3.4 ระดับความสำเร็จของการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เกณฑ์การประเมิน : ประเด็น น้ำหนัก หน่วยนับ ข้อมูลย้อนหลัง เกณฑ์ประเมิน 49 50 51 1 2 3 4 5 จำนวนบทความวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษาที่ได้รับตีพิมพ์ระดับนานาชาติ 0.5 บท ความ 60 85 55 65 70 75 จำนวนผลงานวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษาที่ได้รับรางวัลในระดับชาติและนานาชาติ ผล งาน 33 28 30 26 32 34 จำนวนนักศึกษาที่ได้รับทุนสนับสนุนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อไปศึกษาวิจัย ณ ต่างประเทศ คน 6 10 7 9 11 จำนวนนักศึกษาที่ได้รับทุนอุดหนุนการค้นคว้าและวิจัยในการทำวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 121 186 247 165 175 185 195 205 ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ระดับ NA 72 74 76 78 รวมน้ำหนัก 2.5
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่การปฏิบัติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 3
ตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการ จำนวนตัวชี้วัดที่ต้องประเมิน ปีงบประมาณ พ.ศ.2550-2552 มิติ 2550 2551 2552 ตัวชี้วัดหลัก น้ำ หนัก 1 มิติด้านประสิทธิผล 3 60 5 55 50 2 มิติด้านประสิทธิภาพ 4 9 12 10 มิติด้านคุณภาพ 8 มิติด้านการพัฒนาสถาบัน 25 23 30 รวม 19 100 22 15 จำนวนตัวชี้วัดที่ต้องประเมิน 63 KPIS 47 KPIS 27 KPIS
ตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ระดับคณะ/หน่วยงาน มิติ คณะ หน่วยงาน ตัวชี้วัดหลัก น้ำ หนัก 1 มิติด้านประสิทธิผล 5 50 25 2 มิติด้านประสิทธิภาพ 10 3 มิติด้านคุณภาพ 7 4 มิติด้านการพัฒนาสถาบัน 30 18 รวม 15 100 13 60
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ระดับคณะ
มิติที่ 1 ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล 50 • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยขอนแก่น 8 2 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะลงสู่หน่วยงาน 5 3 ระดับความสำเร็จของบรรลุเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะ 3.1 ระดับความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ของแผนการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 3.2 ระดับความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ที่สะท้อนเอกลักษณ์ฯ (น้ำหนักร้อยละ 8) 3.2.1(ตัวชี้วัดวัดเลือก) 4 3.2.2(ตัวชี้วัดวัดเลือก) *3.2.2 ร้อยละเฉลี่ยของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่สอบผ่านได้ใบประกอบวิชาชีพในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา ต่อจำนวนผู้เข้าสอบทั้งหมด (ให้เลือกเฉพาะคณะที่ต้องสอบใบประกอบวิชาชีพ)
ตัวชี้วัด น้ำหนัก 4.1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 4.1.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายในระยะเวลา 1 ปี 2 4.1.2 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา 4.1.3 จำนวนนักศึกษาหรือศิษย์เก่าที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่อง ในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ 4.1.4 ร้อยละของบทความวิทยานิพนธ์ปริญญาโทที่ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาโททั้งหมด 4.2 มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ 4.2.1 ร้อยละของงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ 4.2.2 ร้อยละของงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ที่นำมาใช้อันก่อให้เกิดประโยชน์อย่างเด่นชัดในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำและ/หรือนักวิจัยประจำ 3 4.2.3 จำนวนผลงานวิชาการที่ได้รับการจดลิขสิทธ์และ/หรือได้รับรองคุณภาพจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ต่ออาจารย์ประจำและ/หรือนักวิจัยประจำ 4.2.4 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับอ้างอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ 4.3 มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ 4.3.1 ร้อยละของอาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ 5 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาสถาบันสู่ระดับสากล
มิติที่ 2 ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 10 • คุณภาพขององค์กร 6 ระดับความพึงพอใจต่อบัณฑิตและบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา 5 6.1 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการตามภารกิจหลัก 3 6.2 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต 2 • การประกันคุณภาพ 7 ระดับความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายในที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
มิติที่ 3 ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพ 10 • ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน 8 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงานของสถาบันอุดมศึกษา 3 • การบริหารงบประมาณ 9 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน ระดับความสำเร็จของการใช้ทรัพยากรร่วมกัน 4
มิติที่ 4 ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร 30 • การบริหารการศึกษา 11 ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการองค์กร 5 12 คุณวุฒิและคุณภาพของอาจารย์ 12.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก 3 12.2 ร้อยละของอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ 13 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร 13.1 ร้อยละของอาจารย์ที่เข้าร่วมประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ 2 13.2 ร้อยของบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ทักษะทางวิชาการและวิชาชีพ (ไม่นับรวมการจัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรที่คณะ/หน่วยงานจัดเอง ต้องการจัดอบรมโดยหน่วยงานอื่นภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย) 14 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 10 15 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้รับการประเมินเมื่อครบรอบการประเมิน
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ระดับหน่วยงาน
มิติที่ 1 ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล 25 25 • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยขอนแก่น 5 2 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะลงสู่หน่วยงาน 3 ระดับความสำเร็จของบรรลุเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะ (น้ำหนักร้อยละ 10) 3.1 ระดับความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ของแผนการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 3.2 ระดับความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ที่สะท้อนเอกลักษณ์และจุดเน้นรวมทั้งวัตถุประสงค์ 3.2.1 (ตัวชี้วัดวัดเลือก) ระดับความสำเร็จในการพัฒนาสถาบันสู่ระดับสากล
มิติที่ 2 ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 10 • คุณภาพขององค์กร 6 ระดับความพึงพอใจต่อบัณฑิตและบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา 6.1 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการตามภารกิจหลัก 5 • การประกันคุณภาพ 7 ระดับความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายในที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
มิติที่ 3 ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพ 7 • ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน 8 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงานของสถาบันอุดมศึกษา 3 • การบริหารงบประมาณ 9 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน 2 10 ระดับความสำเร็จของการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
มิติที่ 4 ตัวชี้วัด น้ำ หนัก มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร 18 • การบริหารการศึกษา 11 ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการองค์กร 4 13 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร 13.2 ร้อยของบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ทักษะทางวิชาการและวิชาชีพ (ไม่นับรวมการจัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรที่คณะ/หน่วยงานจัดเอง ต้องการจัดอบรมโดยหน่วยงานอื่นภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย) 14 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 10
“ร่าง” รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะลงสู่หน่วยงาน หมายถึงการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ระหว่างคณบดีกับหน่วยงานภายในคณะ หน่วยงานภายในคณะ หมายถึง โครงสร้างการบริหารงานตามกฎหมายหรือเป็นโครงสร้างตามที่มีการบริหารจัดการในปัจจุบัน เช่น สำนักงานคณบดี ภาควิชา สาขาวิชา กลุ่มวิชา สายวิชา หลักสูตร หน่วยงานต่างๆ เป็นต้น เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมิน 1 มีการกำหนดแนวทางในการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ระหว่างคณบดีกับหน่วยงานภายในคณะ 2 มีการกำหนดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การประเมินในการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ระหว่างคณบดีกับหน่วยงานภายในคณะ 3 มีการจัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจแนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ระหว่างคณบดีกับหน่วยงาน 4 มีการลงนามในคำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างคณบดีกับหน่วยงานภายในคณะ พร้อมเอกสารประกอบการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ได้แก่ 1) แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน 2) เอกสารคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 3) กรอบตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายและเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการ 5 มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ระหว่างคณบดีกับหน่วยงาน อย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง คือรอบ 6 เดือน และ 9เดือน
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของบรรลุเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของบรรลุเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์ ของคณะ /หน่วยงาน ตัวชี้วัดที่ 3.1 ระดับความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ ของแผนการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 พิจารณาการบรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 นับตัวชี้วัดทั้งหมดตามแผนการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552ของคณะ/หน่วยงาน และไม่นับตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการที่ไม่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ ให้ถือว่าไม่บรรลุเป้าหมาย สูตรการคำนวณ จำนวนตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2552 ที่บรรลุเป้าหมาย X 100 จำนวนตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2552 ทั้งหมด
1) พันธกิจหลักด้านการผลิตบัณฑิต การวิจัย และบริการวิชาการ ตัวชี้วัดที่ 3.2 ระดับความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ที่สะท้อนเอกลักษณ์และจุดเน้นรวมทั้งวัตถุประสงค์เฉพาะของคณะ ให้คณะกำหนดตัวชี้วัดที่สะท้อนเอกลักษณ์และจุดเน้นรวมทั้งวัตถุประสงค์เฉพาะของคณะจำนวน 2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่สะท้อนเอกลักษณ์และจุดเน้นรวมทั้งวัตถุประสงค์ของคณะ อาจจะพิจารณาจาก 1) พันธกิจหลักด้านการผลิตบัณฑิต การวิจัย และบริการวิชาการ 2) ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการของคณะ 3) ตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2551 สำหรับ คณะแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นคณะที่จะต้องสอบใบประกอบวิชาชีพ ดังนั้นให้กำหนดตัวชี้วัดที่สะท้อนเอกลักษณ์และจุดเน้นรวมทั้งวัตถุประสงค์ของคณะ จำนวน 1 ตัวชี้วัด และมหาวิทยาลัยบังคับให้เลือกตัวชี้วัด 3.2.2 ร้อยละ เฉลี่ยของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่สอบผ่านได้ใบประกอบวิชาชีพในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา (ปี 2545-2550-2551) ต่อจำนวนผู้เข้าสอบทั้งหมด สูตรการคำนวณ จำนวนบัณฑิตที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพในรอบ 3 ปี (นับจากปี49-51) X 100 จำนวนบัณฑิตที่เข้าสอบใบประกอบวิชาชีพในรอบ 3 ปี (นับจากปี49-51)
ผู้นำไปใช้ประโยชน์/แหล่ง/สถานที่/ชุมชน ตัวชี้วัดที่ 4.2.2 ร้อยละของงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ที่นำมาใช้อันก่อให้เกิดประโยชน์อย่างเด่นชัดในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำและ/หรือนักวิจัยประจำ ความหมายของตัวชี้วัดนี้ยังไม่ชัดเจน ขณะนี้และอยู่ระหว่างจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด ซึ่ง ก.พ.ร. จะแจ้งให้ทราบภายหลัง ข้อมูลที่ ก.พ.ร. และ สมศ.ต้องการ มีดังนี้ ที่ ชื่อผลงานวิจัย การนำไปใช้ประโยชน์ ผู้นำไปใช้ประโยชน์/แหล่ง/สถานที่/ชุมชน หลักฐานการนำไปใช้ประโยชน์จริง (เช่น หนังสือขอใช้ประโยชน์, ภาพถ่าย,เอกสาร,ประกาศ, VDO,หลักฐานอื่นๆเชิงประจักษ์ 1 2
หรือผลงานวิชาการที่ได้รับการจดลิขสิทธิ์ สูตรการคำนวณ ตัวชี้วัดที่ 4.2.3 จำนวนผลงานวิชาการที่ได้รับการจดลิขสิทธ์และ/หรือได้รับรองคุณภาพจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ต่ออาจารย์ประจำและ/หรือนักวิจัยประจำ ผลงานวิชาการ หมายถึง งานแต่ง เรียบเรียง แปลหนังสือ บทความวิชาการ ซึ่งมีคุณภาพดีและได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ กำหนด หรือ ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพดีและได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ.กำหนด ทั้งนี้ไม่นับงานวิจัยที่ส่วนของการศึกษาเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรใดๆ หรือผลงานวิชาการที่ได้รับการจดลิขสิทธิ์ สูตรการคำนวณ จำนวนผลงานวิชาการที่ได้รับการจดลิขสิทธ์และ/หรือได้รับรองคุณภาพ X 100 อาจารย์ประจำและ/หรือนักวิจัยประจำ
เกณฑ์การประเมินระดับคณะ ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาสถาบันสู่ระดับสากล เกณฑ์การประเมินระดับคณะ ข้อ ประเด็นการประเมิน 1 มี web site หรือแผ่นพับแนะนำคณะเป็นภาษาต่างประเทศ 2 มีคณาจารย์/ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาปฏิบัติงานประจำหรือมาร่วมกิจกรรมวิชาการที่คณะจัดขึ้น 3 มีการสนับสนุนให้อาจารย์และบุคลากรไปพัฒนาความรู้และทักษะในต่างประเทศ 4 มีหลักสูตรที่สอนเป็นภาษาต่างประเทศ/ภาษาอังกฤษ 5 มีนักศึกษาต่างชาติมาแลกเปลี่ยนกิจกรรมวิชาการที่คณะ 6 มีนักศึกษาของคณะไปแลกเปลี่ยนกิจกรรมวิชาการที่ต่างประเทศ 7 มีการจัดประชุมวิชาการในรูปแบบต่างๆในระดับนานาชาติ 8 มีวารสารวิชาการหรือวารสารวิจัยเป็นภาษาต่างประเทศหรือบางส่วนเผยแพร่เผยแพร่เป็นภาษาต่างประเทศ 9 มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงหรือ M0U ร่วมกันกับองค์กร/หน่วยงานในต่างประเทศเพื่อพัฒนาคณะในด้านต่างๆ เช่น ด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการและ การทำนุบำรุงศิลปะและและวัฒนธรรม หรืออื่นๆ 10 มีการจัดทำโครงการวิจัยร่วมกันระหว่างคณาจารย์ บุคลากรหรือคณะกับองค์กร/หน่วยงานในต่างประเทศ 11 มีผลงานวิชาการหรือผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ/นำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติในต่างประเทศ 12 คณะหรือสาขาวิชาได้รับการจัดอันดับของ THES ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ดำเนินการ 1-3 ข้อ ดำเนินการ 4-5 ข้อ ดำเนินการ 6-7 ข้อ ดำเนินการ8-9 ข้อ ดำเนินการ 10-12 ข้อ
เกณฑ์การประเมินระดับหน่วยงานเทียบเท่าคณะ ข้อ ประเด็นการประเมิน 1 มี web site หรือแผ่นพับแนะนำหน่วยงานเป็นภาษาต่างประเทศ 2 มีบุคลากร/ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาปฏิบัติงานประจำหรือมาร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่หน่วยงานจัดขึ้น 3 มีการสนับสนุนให้และบุคลากรไปพัฒนาความรู้และทักษะ/ไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ 4 มีบุคลากรไปเข้าร่วมประชุมวิชาการในระดับชาติหรือนานาชาติ 5 มีการจัดประชุมวิชาการในรูปแบบต่างๆในระดับชาติและนานาชาติ 6 มีวารสารวิชาการหรือวารสารวิจัยเป็นภาษาต่างประเทศหรือบางส่วนเผยแพร่เป็นภาษาต่างประเทศ 7 มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงหรือ M0U ร่วมกันกับองค์กร/หน่วยงานในต่างประเทศเพื่อพัฒนาหน่วยงานในด้านต่างๆ เกณฑ์การประเมินระดับหน่วยงานเทียบเท่าคณะ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ดำเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4-5 ข้อ 5-7 ข้อ
ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ทรัพยากร แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ ประเภท ทรัพยากร 1 คน คณาจารย์และบุคลากร 2 สถานที่ ห้องประชุม ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ เป็นต้น 3 ครุภัณฑ์ ครุภัณฑ์ทางการศึกษา ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ครุภัณฑ์การวิจัย 4 อุปกรณ์ อุปกรณ์สำนักงาน เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องฉายแผ่นใส คอมพิวเตอร์ฯ 5 อื่นๆ ทรัพยากรอื่นๆที่สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกันได้ เช่น ยานพาหนะ 10. ระดับความสำเร็จของการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ทรัพยากร แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ คณะ/หน่วยงานจะต้องมีการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างน้อย 3 ประเภทขึ้นไป การใช้ทรัพยากรคนร่วมกัน หมายถึงการมีแผนในการใช้บุคลากรร่วมกัน ได้แก่ มีแผนในการจัดการเรียนการสอนร่วมกัน การจัดทำหลักสูตรร่วมกัน การวิจัยและบริการวิชาการร่วมกันแต่จะต้องเป็นไปในลักษณะของการจัดทำข้อตกและวางแผนในการทำงานร่วมกัน (ไม่นับรวมการทำผลงานวิจัยร่วมกันระหว่างอาจารย์ด้วยกันเอง แต่จะต้องเป็นความร่วมมือระดับคณะ/ภาควิชา/สาขาวิชา) การใช้ทรัพยากรคนร่วมกัน ไม่นับบุคลากรหรืออาจารย์ที่ถูกเชิญไปเป็นวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยที่ไม่อยู่ในแผนการให้บริการวิชาการของคณะ/หน่วยงาน
เกณฑ์การประเมิน ระดับ เกณฑ์การประเมิน หลักฐาน 1 มีการประชุมปรึกษาหารือเพื่อกำหนดนโยบายและแผนในการใช้ทรัพยากรร่วมกันในที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะ/หน่วยงาน -รายงานการประชุม -แนวทางการใช้ทรัพยากรร่วมกัน 2 มีการจัดทำประกาศหรือนโยบายแผนการใช้ทรัพยากรร่วมกัน -ประกาศหรือนโยบายที่แสดงให้เห็นว่ามีทรัพยากรอะไรบ้างที่จะสามารถใช้ร่วมกันได้ 3 มีการกำหนดข้อตกลงหรือ MOU ในการใช้ทรัพยากรร่วมกันกับคณะ/หน่วยงานอื่นๆภายในมหาวิทยาลัย -บันทึกข้อตกลงหรือ MOUเป็นลายลักษณ์อักษรระหว่างคณะ/หน่วยงาน หรือกับคณะอื่นๆ -ระบุทรัพยากรที่จะใช้ร่วมกัน 4 มีการกำหนดข้อตกลงหรือ MOU ในการใช้ทรัพยากรร่วมกันกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัยระดับจังหวัดหรือระดับภูมิภาค -บันทึกข้อตกลงหรือ MOUเป็นลายลักษณ์อักษรระหว่างคณะกับองค์กร/หน่วยงานระดับจังหวัดหรือภูมิภาค 5 มีการกำหนดข้อตกลงหรือ MOU ในการใช้ทรัพยากรร่วมกันกับหน่วยงาน/องค์กรภายนอกมหาวิทยาลัยระดับชาติ เช่น สกอ. สกว. เป็นต้น -บันทึกข้อตกลงหรือ MOUเป็นลายลักษณ์อักษรระหว่างคณะกับองค์กร/หน่วยงานระดับชาติ
ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ พิจารณาระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการองค์กรในภาพรวมของคณะกรรมการประจำคณะ ข้อ ประเด็นการประเมินผล หน่วยนับ น้ำหนัก เกณฑ์การประเมิน 1 2 3 4 5 ร้อยละของการจัดประชุมกรรมการประจำคณะ/หน่วยงานตามแผน ร้อยละ 0.70 80 85 90 95 100 ร้อยละของคณะกรรมการประจำคณะ/หน่วยงานที่เข้าร่วมประชุม 60 65 70 75 มีการเผยแพร่รายงานการประชุมและมติที่ประชุมของคณะกรรมการประจำคณะ/หน่วยงานให้บุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนได้รับทราบเป็นประจำ ช่องทาง - ระดับความสำเร็จในการทบทวน ปรับปรุงระเบียบ ประกาศหลักเกณฑ์ต่างๆให้มีความเหมาะสมและทันสมัยอยู่เสมอ ระดับ ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2551 พ.ค. เม.ย. มี.ค. ก.พ. ม.ค. 6 ระดับความสำเร็จของการรายงานผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 รอบ 6-9-12 เดือน 1.50 รวม
พิจารณาระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการองค์ในภาพรวม ดังนี้ ร้อยละของการจัดประชุมกรรมการประจำคณะตามแผน พิจารณาจากจำนวนครั้งของการจัดประชุมคณะกรรมการประจำคณะที่กำหนดไว้ตามแผนในปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ร้อยละของคณะกรรมการประจำคณะที่เข้าร่วมประชุม พิจารณาจำนวนคณะกรรมการประจำคณะที่เข้าร่วมประชุมในแต่ละครั้งเทียบจำนวนคณะกรรมการประจำคณะทั้งหมด มีการเผยแพร่รายงานการประชุมและมติที่ประชุมของคณะกรรมการประจำคณะให้บุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนได้รับทราบเป็นประจำ โดยพิจารณาจำนวนช่องทางในการเผยแพร่รายงานการประชุม เช่น บันทึกข้อความ หนังสือเวียน เว็บไซต์ เป็นต้น ระดับความสำเร็จในการทบทวน ปรับปรุงระเบียบ ประหลักเกณฑ์ต่างๆให้มีความเหมาะสมและทันสมัย หมายถึงคณะกรรมการประจำคณะมีการออกประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ หรือมีการปรับปรุง/ทบทวน ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ และหลักเกณฑ์ต่างๆให้มีความเหมาะสมและทันสมัย
ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2551 พิจารณาจากการจัดทำรายงานประจำปี พ.ศ.2551 และดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนดแล้วจัดส่งให้สำนักงานประเมินและประกันคุณภาพ ซึ่งสำนักงานประเมินฯ จะคิดคะแนนจากวันที่ได้รับรายงานประจำปี พ.ศ.2551 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ดำเนินการแล้วเสร็จภายในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2552 2 ดำเนินการแล้วเสร็จภายในเดือนเมษายน พ.ศ.2552 3 ดำเนินการแล้วเสร็จภายในเดือนมีนาคม พ.ศ.2552 4 ดำเนินการแล้วเสร็จภายในเดือนกุมภาพันธุ์ พ.ศ.2552 5 ดำเนินการแล้วเสร็จภายในเดือนมกราคม พ.ศ.2552
ระดับความสำเร็จของการรายงานผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระดับความสำเร็จของการรายงานผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 รอบ 6-9-12 เดือน พิจารณาจากการรายงานผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ที่ครบถ้วนและทันเวลา เอกสารประกอบการรายงานผลการปฏิบัติราชการที่ครบถ้วนได้แก่ 1) SAR-CARD 2) SAR-Report 3) แบบฟอร์มรายงานข้อมูลเชิงปริมาณ 4) กรอกข้อมูลผ่านโปรแกรม e.sar.kku.ac.th 5) ไฟล์ข้อมูลหรือ CD ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 รายงานผลการปฏิบัติราชการไม่ครบ 3 ครั้ง 2 รายงานผลการปฏิบัติราชการครบ 3 ครั้ง แต่ส่งล่าช้า/เอกสารไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ 3 รายงานผลการปฏิบัติราชการฯ ครั้งที่ 1 (8 เมษายน 2552) ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ 4 รายงานผลการปฏิบัติราชการฯ ครั้งที่ 1 (8 กรกฎาคม 2552) ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ 5 รายงานผลการปฏิบัติราชการฯ ครั้งที่ 1 (8 ตุลาคม 2552) ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์
ตัวชี้วัดที่ 12.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก พิจารณาจำนวนอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบกับกับจำนวนอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาตรี ใช้ฐานข้อมูลจากส่วนกลาง (กองการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล) คณะควรจะตรวจสอบจำนวนและรายชื่ออาจารย์ที่วุฒิปริญญาเอกให้ถูกต้องและตรงกันกับกองการเจ้าหน้าที่ ใช้เกณฑ์การประเมินของ สกอ. ตัวชี้วัดที่ 12.2 ร้อยละของอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ พิจารณาตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด คณะควรจะตรวจสอบจำนวนและรายชื่ออาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการให้ถูกต้องและตรงกันกับกองการเจ้าหน้าที่
ตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 13.2 ร้อยของบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ทักษะทางวิชาการและวิชาชีพ - นับจำนวนบุคลากรที่ไปอบรม/สัมมนาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางวิชาการและวิชาชีพที่จัดขึ้นโดยหน่วยงานอื่นๆภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย -ไม่นับรวมการจัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรที่คณะ/หน่วยงานดำเนินการเอง -กรณีที่คณะ/หน่วยงานจัดเอง จะต้องเป็นการอบรม/สัมมนาที่มีการทดสอบความรู้ทั้งก่อนและหลังการอบรม หรือเป็นการอบหลักสูตรต่างๆที่ต้องได้รับใบประกาศนียบัตร
กำหนดการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ วัน เดือน ปี กิจกรรม 9-10 ตุลาคม 2551 ถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่การปฏิบัติ : กรอบตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 6 พฤศจิกายน 2551 คณะ/หน่วยงานส่งเอกสารประกอบการเจรจาต่อรองตัวชี้วัด 11 พฤศจิกายน 2551 เจรจาต่อรองตัวชี้วัด 1 ธันวาคม 2551 อธิการบดีลงนามคำรับรอง 14 ธันวาคม 2551 ส่งเอกสารคำรับรองให้ทุกคณะ/หน่วยงาน 30 มกราคม 2552 ส่งรายละเอียดคู่มือตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการและแบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ให้คณะ/หน่วยงาน 8 เมษายน 2552 คณะ-หน่วยงาน รายงานผลการปฏิบัติราชการรอบ 6 เดือน 8 กรกฎาคม 2552 คณะ-หน่วยงาน รายงานผลการปฏิบัติราชการรอบ 9 เดือน 8 ตุลาคม 2552 คณะ-หน่วยงาน รายงานผลการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือน
จบแล้ว... สวัสดีครับ