การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานเลี้ยงเด็ก
เพื่อรับการประเมินภายนอก
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การประเมินสภามหาวิทยาลัย
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การประเมินผลการเรียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
ความดีเด่นของสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศไทย
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
Company LOGO โรงเรียนปราสาทเบงวิทยา ตำบลกาบเชิง อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 33 โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
คุณภาพ / มาตรฐานผู้เรียน / ผู้รับบริการ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์...มสธ.

ระบบประกันคุณภาพภายใน 1.กำหนดมาตรฐาน/เกณฑ์คุณภาพสถานศึกษา 2.มีการพัฒนาโรงเรียนให้ได้ตามเกณฑ์ โดยมีการกำกับติดตาม ตรวจสอบงานอย่างต่อเนื่อง 3.มีการประเมินผลการดำเนินงานตามมาตรฐาน/เกณฑ์

ขอบเขตการบรรยาย/กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน คืออะไร สำคัญอย่างไร ที่มาของเกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก แนวปฏิบัติในการกำหนดเกณฑ์ประเมิน คุณภาพภายใน

เกณ์การประเมิน คืออะไร 1 เกณ์การประเมิน คืออะไร สำคัญอย่างไร

เกณฑ์การประเมิน..มีขอบเขต ดังนี้ คือ...มิติ หรือรายการคุณภาพที่ถูกกำหนดขึ้น เพื่อการตรวจสอบและประเมินผล ปรากฏในรูป มาตรฐาน/องค์ประกอบ (ตัวบ่งชี้หลัก) ตัวบ่งชี้รอง/ตัวบ่งชี้ย่อย) คือ....เกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การตัดสินคุณภาพหรือการให้ระดับคุณภาพ คำว่า “เกณฑ์การประเมิน” มีขอบเขตแค่ไหน หรือเมื่อกล่าวถึง “เกณฑ์การประเมิน” มักจะหมายถึงอะไร

ความสำคัญของเกณฑ์การประเมิน เป็นกรอบแนวทางเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา เป็นกรอบเพื่อการติดตาม ประเมินผล หรือควบคุมคุณภาพของหน่วยงานต้นสังกัด เป็นกรอบเพื่อการตรวจสอบและประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นกรอบเพื่อการประเมินผลภายนอกผล โดยองค์กรภายนอกที่มีหน้าที่รับรองมาตรฐาน เกณฑ์การประเมินมีบทบาททั้งในเชิง เป็นกรอบแนวทางการพัฒนา กรอบแนวทางการกำกับติดตามงาน และกรอบในการประเมินผลการดำเนินงาน

การกำหนดเกณ์การประเมินที่ดี 2 การกำหนดเกณ์การประเมินที่ดี คืออย่างไร

ที่มาของเกณฑ์การประเมิน เป็นรายการคุณภาพที่สังคมคาดหวัง ที่สอดคล้องกัน อย่างเป็นลำดับชั้น พ.ร.บ.การศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ แนวปฏิรูปการศึกษาระยะ 10 ปี ในเชิงการทำงานที่เป็นระบบ ก่อนที่จะมาเป็น “เกณฑ์การประเมินผลภายในสถานศึกษา” จะมีกรอบที่เป็นพัฒนาการตามลำดับชั้น ในส่วนของเกณฑ์ประเมินภายนอกโดย สมศ. จะต้องกำหนกกรอบการประเมินที่สอดคล้องกับแนวปฏิรูป และหลักสูตร หลักสูตรแกนกลาง/สูตรสถานศึกษา เกณฑ์ประเมิน ภายนอก เกณฑ์ประเมินภายใน ศธ. เกณฑ์ประเมินภายในสถานศึกษา

กฏกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ข้อ 38 กำหนดให้ สมศ.ทำการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมในเรื่องหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 1) มาตรฐานว่าด้วยผลการจัดการศึกษาแต่ละระดับ/แต่ละประเภทการศึกษา 2)มาตรฐานว่าด้วยการบริหารจัดการสถานศึกษา 3)มาตรฐานว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และ 4) มาตรฐานว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน

เกณฑ์การประเมิน คุณภาพภายนอก ในการประเมินภายนอกรอบที่ 3 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน -เกณฑ์การประเมินภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มักจะถูกพัฒนาขึ้นก่อน ก่อนที่จะปรับเป็นเกณฑ์ระดับปฐมวัย -เดิม เคยเรียก มาตรฐานที่ 1-14 ในการประเมินรอบที่สาม เรียกว่า “ตัวบ่งชี้(หลักๆ)” แทนคำว่ามาตรฐาน

กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี(10) 2. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ (10) 3. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง (10) 4. ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น (10) 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน(20) 6. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (10) 7. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา(5) 8. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด(5)   ทะยานสู่เป้าหมาย กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา 2553 กำหนดให้ประเมินภายนอกตามมาตรฐานการศึกษาชาติ ให้ครอบคลุม เรื่องต่าง ๆ คือ มาตรฐานว่าด้วย 1)ผลการจัดการศึกษา 2)การบริหารการศึกษา 3)การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และ 4)การประกันคุณภาพภายใน

กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 9. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา(5) 10. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา(5) เน้นไปที่ผลการจัดการศึกษาที่เกิดกับผู้เรียน ตัวบ่งชี่ 9 ต้องกำหนดรายการอัตลักษณ์ร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ตัวบ่งชี้ 10 มุ่งที่จุดเน้น โดดเด่น หรือทำได้ดีจนประสบความสำเร็จ เช่น โรงเรียนเน้น-เด่นวิทยาศาสตร์ กีฬา วิถีพุทธ สองภาษา ฯลฯ ทะยานสู่เป้าหมาย

กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 11. ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา(5) 12. ผลการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา(5) เน้นที่ผลของโครงการพิเศษ ทะยานสู่เป้าหมาย

เกณฑ์การประเมิน คุณภาพภายนอก ในการประเมินภายนอกรอบที่ 3 ระดับการศึกษาปฐมวัย ดูรายละเอียด ใน pdf File

ตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย(5) 2. เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย(5) 3. เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย(5) 4. เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย(10) 5. เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป(10)

6. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (35) 7. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา(15) 8. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด(5)

ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 9. ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา(2.5) 10. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา(2.5)

ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 11. ผลการดำเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา(2.5) 12. ผลการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา(2.5)

คำอธิบายเพิ่มเติม ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ หมายถึง ลักษณะพิเศษของประเภท/กลุ่มโรงเรียน/โรงเรียน ที่แสดงให้เห็นความแตกต่างของประเภท/กลุ่มโรงเรียน/โรงเรียนเพื่อเป็นข้อมูลสาธารณะให้ผู้ปกครองและนักเรียน ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม คือ มาตรการที่นำมาปรับปรุงและพัฒนาเพื่อมุ่งไปสู่สถานศึกษาที่มีคุณภาพ ทะยานสู่เป้าหมาย

เกณ์ประเมินภายใน....อย่างไร 3 เราจะกำหนด เกณ์ประเมินภายใน....อย่างไร

แนวปฏิบัติในการกำหนดเกณฑ์ประเมินผลภายใน ทะยานสู่เป้าหมาย

แนวปฏิบัติในการวางแผน/กำหนดเกณฑ์ประเมินผลภายใน การกำหนดมาตรฐาน/องค์ประกอบ หรือตัวบ่งชี้หลัก ตัวบ่งชี้รอง/ตัวบ่งชี้ย่อย ใช้มาตรฐานใหม่(15 มาตรฐาน) ใช้มาตรฐานเดิม(18 มาตรฐาน) + 2 มาตรฐาน ( 2 มาตรฐาน คือ อัตลักษณ์ และ มาตรการส่งเสริม) -ให้ข้อคิด เรื่อง การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน -แบ่งกลุ่ม ทำกิจกรรม กิจกรรม 1: กำหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษา และแนวทางการพัฒนาอัตลักษณ์ กิจกรรม 2 : เลือกโครงการพิเศษที่สถานศึกษามุ่งดำเนินการเพื่อพัฒนาชุมชน-สังคม ที่มีผลทั้งต่อชุมชน และต่อนักเรียน

การวางแผน/กำหนดเกณฑ์ ประเมินภายใน(ต่อ) การเลือกรายการคุณภาพที่เป็นอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ของสถานศึกษา(ควรดำเนินการอย่างไร) การเลือกโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา....(ควรเลือกอย่างไร) การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์เชิงปริมาณ เกณฑ์เชิงคุณภาพ เกณฑ์เชิงพัฒนาการ -ให้ข้อคิด เรื่อง การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน -แบ่งกลุ่ม ทำกิจกรรม กิจกรรม 1: กำหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษา และแนวทางการพัฒนาอัตลักษณ์ กิจกรรม 2 : เลือกโครงการพิเศษที่สถานศึกษามุ่งดำเนินการเพื่อพัฒนาชุมชน-สังคม ที่มีผลทั้งต่อชุมชน และต่อนักเรียน

การวางแผน/กำหนดเกณฑ์การประเมิน การจัดทำ Curriculum Mapping : เพื่อวางแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียนแบบสมบูรณ์ Mapping โครงการกับมาตรฐานสถานศึกษาฯ Mapping กิจกรรมแต่ละสัปดาห์ กับ มาตรฐานสถานศึกษา

ระดับคุณภาพ รายตัวชี้วัด Achieved...บรรลุผลตามที่คาดหวัง(4) Achieved...บรรลุผลตามที่คาดหวัง(3) Attempt..ได้ดำเนินการพัฒนาด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย มีการบันทึก รวบรวมผลการพัฒนาหรือความก้าวหน้าของงาน(2) Awareness…ตระหนักรู้ เช่น รับทราบ มีการประชุม วางแผน จัดทำแผนงาน-โครงการเพื่อรองรับการพัฒนาตามตัวบ่งชี้นั้น ๆ ฯลฯ

การตัดสินเชิงปริมาณ วัดจากร้อยละของผู้เรียน วัดจากร้อยละของครู < 50...................ต้องปรับปรุง 50-60................ควรปรับปรุง 61-74.................พอใช้ 75-89..................ดี 90 ขึ้นไป.............ดีมาก วัดจากร้อยละของครู

การตัดสินเชิงคุณภาพ กำหนดเงื่อนไขคุณภาพ/รายการคุณภาพผลงาน 3-10 รายการ แล้วแจงนับรายการที่ผ่านว่ามีกี่รายการ ---> ตีค่าเป็นระดับคุณภาพ(เกรด) ( 1= ต้องปรับปรุง 2= ควรปรับปรุง 3= พอใช้ 4= ดี 5= ดีมาก) - ตีค่าเป็น คะแนน (ที่ได้) (1 2 3 4 5 คะแนน)..กรณีน้ำหนัก 5 คะแนน (2 4 6 8 10 คะแนน)..กรณีน้ำหนัก 10 คะแนน (0.5 1 1.5 2 2.5 คะแนน)..กรณีน้ำหนัก 2.5 คะแนน

การตัดสินเชิงพัฒนาการ ดีขึ้น/สูงกว่า เมื่อเทียบกับที่ผ่านมา เทียบเท่า หรือคงที่ เมื่อเทียบกับที่ผ่านมา ลดลง/ต่ำลง เมื่อเทียบกับที่ผ่านมา ---> แล้วตีค่าเป็น คะแนน (ที่ได้)

เชิญ อภิปราย ซักถาม ทะยานสู่เป้าหมาย

กิจกรรม 1 : กำหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ให้สมาชิกร่วมกัน 1) กำหนด/ระบุอัตลักษณ์ของสถานศึกษา พร้อมคำอธิบายอัตลักษณ์(อธิบายในเชิงพฤติกรรมที่เป็นรูปธรรม) 2) กำหนดแนวทางการพัฒนา และแนวทางการประเมินอัตลักษณ์ อัตลักษณ์ คือตัวบ่งชี้ที่ 9 และ 10 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กิจกรรม 2 : ออกแบบโครงการพิเศษ ให้สมาชิกร่วมกัน 1) เลือกหรือกำหนดโครงการพิเศษเพื่อเสริมบทบาทของสถานศึกษา(เป็นโครงการพัฒนาชุมชน หรือสังคมตามความพร้อมของสถานศึกษา เป็นโครงการที่ทำได้โดดเด่น) 2) กำหนดแนวทางการดำเนินงานโครงการพิเศษในรอบปี และระบุแนวทางการประเมินโครงการดังกล่าว(ประเมินผลที่เกิดกับชุมชน และ ผลที่เกิดกับนักเรียน) ตัวบ่งชี้ที่ 11-12 ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการพิเศษ คือ ตัวบ่งชี้ที่ 11

เกณฑ์การพิจารณา ตัวบ่งชี้ 11 : โครงการพิเศษฯ 1. ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการกำหนดโครงการ และผ่านความเห็นชอบของกรรมการสถานศึกษาและเครือข่ายผู้ปกครอง 2. ผู้เรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโครงการ(มากกว่า 50 %) 3. กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจระดับมาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 4. เกิดผลดี/ผลกระทบต่อสังคม/ชุมชนในระดับมาก(เฉลี่ยเกิน 3.50 ในระบบคะแนนเต็ม 5.00) 5. เกิดประโยชน์ผู้เรียนในด้านคุณลักษณะที่สำคัญ คือ....................

กิจกรรม : กำหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษา และโครงการพิเศษเพื่อเสริมบทบาทสถานศึกษา ให้สมาชิกแต่ละโรงเรียนร่วมกัน 1) กำหนด/ระบุอัตลักษณ์ของสถานศึกษา(อัตลักษณ์ทั่วไป และ เอกลักษณ์) พร้อมคำอธิบายอัตลักษณ์(อธิบายในเชิงพฤติกรรมที่เป็นรูปธรรม) 2) กำหนดแนวทางการพัฒนา และแนวทางการประเมินอัตลักษณ์ 3) เลือกโครงการพิเศษที่ส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา(ควรเลือกโครงการที่เอื้อต่อการสร้างเอกลักษณ์) อัตลักษณ์ คือตัวบ่งชี้ที่ 9 และ 10 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การบริหารสมัยใหม่ การมีส่วนร่วม/ร่วมคิด ร่วมวางแผน บริหารจัดการอย่างเป็นระบบ(PDCA) นำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนา เกิดผลดี/ผลกระทบ ตามที่คาดหวัง