Reproductive Health for PHA

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อประกอบการเรียนรู้
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
วัยทีน วัยใส ใส่ใจ อนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดตราด
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
การปฏิบัติตนของวัยรุ่น
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ศูนย์พึ่งได้ เด็กที่ได้รับ ผลกระทบจาก เอดส์ เด็กเปราะบาง เด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Reproductive Health for PHA การให้บริการ อนามัยการเจริญพันธุ์ สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี Reproductive Health for PHA

องค์ประกอบของ อนามัยการเจริญพันธุ์ วางแผนครอบครัว อนามัยแม่และเด็ก ภาวะหลังวัยเจริญพันธุ์และผู้สูงอายุ อนามัยการเจริญพันธุ์ ภาวะการมีบุตรยาก โรคเอดส์ มะเร็งระบบสืบพันธุ์ โรคติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์ เพศศึกษา อนามัยวัยรุ่น การแท้งและภาวะแทรกซ้อน 2

10 องค์ประกอบของอนามัยการเจริญพันธุ์ อนามัยแม่และเด็ก วางแผนครอบครัว ภาวะการมีบุตรยาก อนามัยวัยรุ่น การแท้งและภาวะแทรกซ้อน โรคเอดส์ เพศศึกษา มะเร็งระบบสืบพันธุ์ โรคติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์ ภาวะหลังวัยเจริญพันธุ์และผู้สูงอายุ

UNAIDS/WHO 4 Prong Strategy For Prevention of Mother-To-Child HIV Transmission Child bearing age women I. Prevent HIV infection II. Prevent unintended pregnancies HIV-infected women III. Prevent mother-to-child HIV transmission HIV-infected women, their infants and families IV. Provide care and support (MTCT-Plus)

การป้องกันการแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก (UNAIDS/WHO 4 Prong Strategy For Prevention of Mother To Child HIV Transmission) หญิงวัย เจริญพันธุ์ I. ป้องกันการติดเชื้อ HIV II. ป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ หญิงติดเชื้อ HIV III. ป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก หญิงติดเชื้อ, สามี, เด็กและครอบครัว IV. ให้การดูแลรักษาต่อเนื่อง (MTCT-Plus & care) UNAIDS/WHO 4 Prong Strategies

ข้อมูลการสำรวจของโครงการเสียงและทางเลือก ผู้หญิงที่ติดเชื้อเอชไอวีอย่างน้อยครึ่งหนึ่งยังคงมีเพศสัมพันธ์ ร้อยละ 10 ไม่เคยคุมกำเนิด เพียงร้อยละ 50 ที่เคยขอรับการปรึกษาด้านอนามัยแม่และเด็ก ผู้หญิงจำนวนหนึ่งเสี่ยงตัดสินใจตั้งครรภ์เพราะมีความหวังว่า ลูกมีโอกาสไม่รับเชื้อจากแม่หากเข้าร่วมโครงการ PMTCT ร้อยละ 25 ไม่เคยใช้ถุงยางอนามัย มากกว่าร้อยละ 50 ตัดสินใจทำแท้งเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ แต่มีเพียงร้อยละ 40 ที่เคยรับบริการให้การปรึกษาเรื่องการทำแท้งจากสถานบริการของรัฐ

ส่วนข้อมูลที่ได้จากการจัดการความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้หญิงติดเชื้อเอชไอวีท้องซ้ำโดยไม่ตั้งใจ สาเหตุส่วนใหญ่มาจาก การไม่คุมกำเนิด ผู้ชายไม่ใช้ถุงยางอนามัยและเลือกที่จะคุมกำเนิดโดยใช้วิธีหลั่งภายนอกแทน จึงเกิดความผิดพลาดขึ้น ตั้งครรภ์เพราะต้องการปกปิดการติดเชื้อเอชไอวีของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นการปกปิดสามี สังคม ชุมชน พ่อ แม่ ญาติพี่น้องของสามีเนื่องจากคนส่วนใหญ่คิดว่าเมื่อแต่งงานก็ควรมีลูกไว้สืบตระกูล หากตนเองไม่มีลูกก็จะถูกสงสัย

ผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวีจำนวนไม่น้อยยังเข้าไม่ถึงบริการ ด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ สาเหตุอาจมาจาก กลัวเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ รังเกียจ เลือกปฏิบัติ ไม่รู้ว่ามีบริการให้การปรึกษาเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง การวางแผนครอบครัว อนามัยแม่และเด็ก การวางแผนการตั้งครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพ การทำแท้ง หรืออื่นๆ กรณีที่ผู้ติดเชื้อเอชไอวีกำลังกินยาต้านไวรัสหรือยารักษาวัณโรคหรือโรคติดเชื้อฉวยโอกาสอื่นๆอยู่ ก็กลัวว่าการคุมกำเนิดจะทำให้ประสิทธิภาพของยาที่กำลังกินอยู่เสื่อมประสิทธิภาพ มีบางส่วนกลัวถูกเจ้าหน้าที่ดุ เนื่องจากเจ้าหน้าที่มักย้ำเรื่องการไม่ควรมีลูกถ้าติดเชื้อเอชไอวี และเมื่อมีลูกเลยไม่กล้าไปพบเจ้าหน้าที่

ปัญหาหรือผลที่ตามมาหากบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ไม่ครอบคลุมหรือบริการไม่ได้คุณภาพ การมีลูกถี่ มีผลทำให้สุขภาพแม่ทรุดโทรมอันเนื่องจากการตั้งครรภ์และการคลอดลูก การเลี้ยงดูลูก การแท้งที่ไม่ปลอดภัย ตลอดถึงอาการแทรกซ้อนที่เกิดจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย การป่วยและการตายของมารดาและทารก มะเร็งปากมดลูก การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก เด็กกำพร้าที่เกิดจากโรคเอดส์เพิ่มมากขึ้น

วิธีการป้องกันผู้ติดเชื้อเอชไอวีจากการตั้งครรภ์ เมื่อยังไม่พร้อมหรือไม่ตั้งใจ พบว่า การวางแผนครอบครัวเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ได้พิจารณาประเมินตนเอง การวางแผนการมีลูกล่วงหน้าอย่างเหมาะสม โดยการดำเนินงานต้องไม่ละเมิดสิทธิของผู้ติดเชื้อ เอชไอวีด้วย การให้ความรู้การปรึกษาอย่างรอบด้านก็จะเป็นวิธีที่ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนของผู้ติดเชื้อเอชไอวีได้เป็นอย่างดี

แนวทางการให้บริการด้านอนามัย การเจริญพันธุ์สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี วัตถุประสงค์หลัก : เพื่อให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี สามารถเข้าถึงบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ กลุ่มเป้าหมาย : ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและคู่

แนวทางการให้บริการด้านอนามัย การเจริญพันธุ์สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1. คลินิกให้ยาต้านไวรัส 2. คลินิกวางแผนครอบครัว 3. คลินิกอนามัยการเจริญพันธุ์อื่น ๆ (คลินิกหลังคลอด / หลังแท้ง เป็นต้น) 4. ชมรมผู้ติดเชื้อเอชไอวี / ศูนย์องค์รวม 5. คลินิกอื่นๆ อาทิ เช่น คลินิกผู้ป่วยนอก หอผู้ป่วยใน

แนวทางการให้บริการด้านอนามัย การเจริญพันธุ์สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน ให้ความรู้เรื่อง การวางแผนครอบครัว และอนามัยเจริญพันธุ์ ให้กับผู้ที่ปฏิบัติงานในคลินิกยาต้านไวรัส และอบรมให้ความรู้ เรื่องโรคเอดส์ กับผู้ปฏิบัติงานในคลินิกอนามัยเจริญพันธุ์ และวางแผนครอบครัว กิจกรรมที่ 2 อบรมแกนนำ / ผู้ติดเชื้อเอชไอวี /ศูนย์องค์รวม ของโรงพยาบาล หลักสูตร “ การส่งเสริมการรับบริการอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวีสำหรับแกนนำ/ ศูนย์องค์รวม (วิทยากรกระบวนการสำหรับแกนนำ)”

แนวคิดในการให้บริการอนามัยการเจริญพันธุ์แก่ผู้ติดเชื้อ เอชไอวี ชมรมผู้ติดเชื้อ เอชไอวี เตรียมความพร้อมด้าน RH แก่ผู้ติดเชื้อฯ ส่งต่อไป/จากคลินิก RH MCH FP etc คลินิกยาต้านไวรัส คัดกรองเรื่องวางแผนครอบครัว/ความพร้อมในการลูก ส่งต่อคลินิกอนามัยการเจริญพันธุ์/FP คลินิกวางแผนครอบครัว ส่งต่อคลินิกยาต้านไวรัส/RH รับการส่งต่อจากคลินิกยาต้านไวรัส/RH etc คลินิกอนามัยการเจริญพันธุ์อื่นๆ ส่งต่อคลินิกยาต้านไวรัส/FP รับการส่งต่อจากคลินิกยาต้านไวรัส/FP 14

ส่งรับการปรึกษาเพื่อการตัดสินใจมีบุตร ผังการให้บริการอนามัยการเจริญพันธุ์แก่ผู้ติดเชื้อ เอชไอวี ผู้ติดเชื้อเอชไอวี คัดกรองความต้องการการบริการเรื่องการวางแผนครอบครัว ต้องการ FP* ไม่ต้องการ FP* ต้องการมีบุตร ไม่ต้องการมีบุตร - ให้ความรู้เรื่องบริการคุมกำเนิด และการมีเพศสัมพันธ์แบบปลอดภัย ส่งรับการปรึกษาเพื่อการตัดสินใจมีบุตร ให้บริการคุมกำเนิด ต้องการตั้งครรภ์/มีบุตร ไม่พร้อมตั้งครรภ์/ มีบุตร บริการ PMTCT 15

ทีมพัฒนาแนวทางการให้บริการอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ขอขอบคุณ ทีมพัฒนาแนวทางการให้บริการอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี แพทย์หญิง นันทา อ่วมกุล ผู้อำนวยการสำนักที่ปรึกษา นพ. สัญญา ภัทราชัย * * ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ภญ.ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล ภม, ภบ. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ขอขอบคุณ ที่ปรึกษาโครงการ 1. นายแพทย์ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดี กรมอนามัย 2. รศ. แพทย์หญิงอรวรรณ คีรีวัฒน์ ที่ปรึกษาอาวุโสศูนย์วิจัยการอนามัยเจริญพันธุ์และวางแผนครอบครัว คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3. นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองอธิบดี กรมอนามัย ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. สำนักที่ปรึกษา กรมอนามัย

ขอขอบคุณ คณะทำงาน 1. สำนักที่ปรึกษา กรมอนามัย 2. สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย 3. กองอนามัยเจริญพันธุ์ กรมอนามัย 4. สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 5. สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค 6. ศูนย์ความร่วมมือไทย สหรัฐ ด้านสาธารณสุข 7. ที่ปรึกษาพันธมิตรสาธารณสุข 8. มูลนิธิรักษ์ไทย 9. มูลนิธิพัฒนาเครือข่ายเอดส์ 10. ศูนย์ประสานงานเครือข่ายผู้หญิงติดเชื้อ