แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเด็นยุทธศาสตร์ ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ (อาหารปลอดภัย พ่อครัวไทยมืออาชีพ)

แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ ภายในปี พ.ศ.2555 (ระยะ 3 ปี) มีส่วนร่วมจัดการด้านอาหารและน้ำที่สะอาด ปลอดภัย ส่งเสริมให้มีการเฝ้าระวังโดยชุมชน สนับสนุนการใช้มาตรการทางสังคม พิทักษ์สิทธิในการบริโภคอาหารและน้ำที่สะอาดปลอดภัย เร่งรัดให้มีมาตรการทำให้อาหารปลอดภัยโดยชุมชน ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ,ความเข้าใจ และความตระหนัก(ปีที่ 1-3) มีช่องทางในการร้องเรียน เสนอแนะ/แจ้งเบาะแส(ปีที่1-3) ระดับประชาชน () องค์กรแหล่งทุนให้การสนับสนุนการดำเนินงาน - แสวงหาความร่วมมือและจัดทำหลักสูตรในการอบรม - จัดตั้งศูนย์ประสานงานในการรองรับผู้สัมผัสอาหาร - มีการเผยแพร่แหล่งทุนให้ภาคี อปท.ควบคุมสถานประกอบการให้ได้ตามพรบ.สาธารณสุข - สนับสนุนการออกและใช้ข้อบัญญัติท้องถิ่น - เร่งรัดพัฒนาการรับรองผู้สัมผัสอาหาร - เร่งรัดพัฒนาให้สถานประกอบการด้านอาหารได้มาตรฐาน - พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ อปท. สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศึกษาดูงาน ชมรมผู้ประกอบการ/สมาคม มีส่วนร่วมในการพัฒนา - พัฒนาศักยภาพ - แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ศึกษาดูงาน - สร้างและบริหารเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐและสื่อมวลชนภาคเอกชน /ประชาสังคมให้การร่วมพัฒนาและสนับสนุน - จัดเวทีวิชาการ - พัฒนาความสัมพันธ์ - ทำ MOU ร่วมกัน (Stakeholder) ระดับภาคี มีกลไกในการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ภาคีCRM) - สร้างระบบและใช้ข้อมูล/สื่อสาธารณะ/เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - จัดระบบการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่าย -พัฒนาระบบ CRM มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ร่วมกันและนำไปใช้เชิงบูรณาการ - การจัดทำแผนอย่างมีส่วนร่วมและถ่ายทอดแผนฯสู่การปฏิบัติ - พัฒนาระบบประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ -มีระบบการติดตามอย่างต่อเนื่อง พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย - พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะและการสื่อสารความเสี่ยง - พัฒนาระบบรับฟังความคิดเห็น - พัฒนาทักษะภาคีด้านระบบรับรองฯ มีระบบการพัฒนามาตรฐานวิชาการและกฎหมาย - พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี - พัฒนาระบบกฎหมายสาธารณสุข กฎเกณฑ์ - พัฒนามาตรฐานและระบบงาน มีการจัดการความรู้และนวตกรรม - แลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดทำคลังความรู้ - จัดทำบัญชีนวตกรรม -สนับสนุนให้มีทีมวิจัย มีระบบการเฝ้าระวังที่มีคุณภาพ - พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังชุมชน สร้างความเชื่อมโยงเครือข่าย ระดับกระบวนการ จนท.มีความรู้ทักษะในการดำเนินงาน (SMART) - มีสมรรถนะในการจัดการ - พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพและทันต่อการเปลี่ยนแปลง - มีการทำงานเป็นทีม (T) - สร้างระบบความก้าวหน้าในอาชีพและแรงจูงใจในการทำงาน - มีการสื่อสารแบบสองทางภายในองค์กร มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ - พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง - ส่งเสริมให้ภาคีมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบฐานข้อมูล - พัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีโครงสร้างองค์กรสอดคล้องกับงาน - ปรับเปลี่ยนระบบงานและมอบหมายงานให้เหมาะสมกับภารกิจ - พัฒนาสภาพแวดล้อมในการทำงาน ระดับ พื้นฐาน

แผนที่ยุทธศาสตร์ (SLM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ ภายในปี พ.ศ.2555 (ระยะ 3 ปี) มีส่วนร่วมจัดการด้านอาหารและน้ำที่สะอาด ปลอดภัย ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ,ความเข้าใจ และความตระหนัก(ปีที่ 1-3) ระดับประชาชน () อปท.พัฒนาและควบคุมสถานประกอบการให้ได้ตามพรบ.สาธารณสุข - เร่งรัดพัฒนาการรับรองผู้สัมผัสอาหาร ชมรมผู้ประกอบการ/สมาคม มีส่วนร่วมในการพัฒนา - แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ศึกษาดูงาน หน่วยงานภาครัฐและสื่อมวลชนภาคเอกชน /ประชาสังคม/องค์กรแหล่งทุนให้การสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาความสัมพันธ์ -สร้างความร่วมมือระหว่างภาคีและการจัดทำหลักสูตรการอบรม (Stakeholder) ระดับภาคี มีกลไกในการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ภาคีCRM) - จัดระบบการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่าย มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ร่วมกันและนำไปใช้เชิงบูรณาการ - การจัดทำแผนอย่างมีส่วนร่วมและถ่ายทอดแผนฯสู่การปฏิบัติ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย - พัฒนาทักษะภาคีด้านระบบรับรองฯ มีระบบการพัฒนามาตรฐานวิชาการและกฎหมาย - พัฒนามาตรฐานและระบบงาน มีการจัดการความรู้และนวตกรรม - แลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดทำคลังความรู้ มีระบบการเฝ้าระวังที่มีคุณภาพ สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังโดยชุมชน ระดับกระบวนการ จนท.มีความรู้ทักษะในการดำเนินงาน (SMART) - พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพและทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ - พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง มีโครงสร้างองค์กรสอดคล้องกับงาน - ปรับเปลี่ยนระบบงานและมอบหมายงานให้เหมาะสมกับภารกิจ ระดับ พื้นฐาน