ประเด็นยุทธศาสตร์ ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ (อาหารปลอดภัย พ่อครัวไทยมืออาชีพ)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ ภายในปี พ.ศ.2555 (ระยะ 3 ปี) มีส่วนร่วมจัดการด้านอาหารและน้ำที่สะอาด ปลอดภัย ส่งเสริมให้มีการเฝ้าระวังโดยชุมชน สนับสนุนการใช้มาตรการทางสังคม พิทักษ์สิทธิในการบริโภคอาหารและน้ำที่สะอาดปลอดภัย เร่งรัดให้มีมาตรการทำให้อาหารปลอดภัยโดยชุมชน ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ,ความเข้าใจ และความตระหนัก(ปีที่ 1-3) มีช่องทางในการร้องเรียน เสนอแนะ/แจ้งเบาะแส(ปีที่1-3) ระดับประชาชน () องค์กรแหล่งทุนให้การสนับสนุนการดำเนินงาน - แสวงหาความร่วมมือและจัดทำหลักสูตรในการอบรม - จัดตั้งศูนย์ประสานงานในการรองรับผู้สัมผัสอาหาร - มีการเผยแพร่แหล่งทุนให้ภาคี อปท.ควบคุมสถานประกอบการให้ได้ตามพรบ.สาธารณสุข - สนับสนุนการออกและใช้ข้อบัญญัติท้องถิ่น - เร่งรัดพัฒนาการรับรองผู้สัมผัสอาหาร - เร่งรัดพัฒนาให้สถานประกอบการด้านอาหารได้มาตรฐาน - พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ อปท. สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศึกษาดูงาน ชมรมผู้ประกอบการ/สมาคม มีส่วนร่วมในการพัฒนา - พัฒนาศักยภาพ - แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ศึกษาดูงาน - สร้างและบริหารเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐและสื่อมวลชนภาคเอกชน /ประชาสังคมให้การร่วมพัฒนาและสนับสนุน - จัดเวทีวิชาการ - พัฒนาความสัมพันธ์ - ทำ MOU ร่วมกัน (Stakeholder) ระดับภาคี มีกลไกในการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ภาคีCRM) - สร้างระบบและใช้ข้อมูล/สื่อสาธารณะ/เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - จัดระบบการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่าย -พัฒนาระบบ CRM มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ร่วมกันและนำไปใช้เชิงบูรณาการ - การจัดทำแผนอย่างมีส่วนร่วมและถ่ายทอดแผนฯสู่การปฏิบัติ - พัฒนาระบบประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ -มีระบบการติดตามอย่างต่อเนื่อง พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย - พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะและการสื่อสารความเสี่ยง - พัฒนาระบบรับฟังความคิดเห็น - พัฒนาทักษะภาคีด้านระบบรับรองฯ มีระบบการพัฒนามาตรฐานวิชาการและกฎหมาย - พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี - พัฒนาระบบกฎหมายสาธารณสุข กฎเกณฑ์ - พัฒนามาตรฐานและระบบงาน มีการจัดการความรู้และนวตกรรม - แลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดทำคลังความรู้ - จัดทำบัญชีนวตกรรม -สนับสนุนให้มีทีมวิจัย มีระบบการเฝ้าระวังที่มีคุณภาพ - พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังชุมชน สร้างความเชื่อมโยงเครือข่าย ระดับกระบวนการ จนท.มีความรู้ทักษะในการดำเนินงาน (SMART) - มีสมรรถนะในการจัดการ - พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพและทันต่อการเปลี่ยนแปลง - มีการทำงานเป็นทีม (T) - สร้างระบบความก้าวหน้าในอาชีพและแรงจูงใจในการทำงาน - มีการสื่อสารแบบสองทางภายในองค์กร มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ - พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง - ส่งเสริมให้ภาคีมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบฐานข้อมูล - พัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีโครงสร้างองค์กรสอดคล้องกับงาน - ปรับเปลี่ยนระบบงานและมอบหมายงานให้เหมาะสมกับภารกิจ - พัฒนาสภาพแวดล้อมในการทำงาน ระดับ พื้นฐาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SLM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ ภายในปี พ.ศ.2555 (ระยะ 3 ปี) มีส่วนร่วมจัดการด้านอาหารและน้ำที่สะอาด ปลอดภัย ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ,ความเข้าใจ และความตระหนัก(ปีที่ 1-3) ระดับประชาชน () อปท.พัฒนาและควบคุมสถานประกอบการให้ได้ตามพรบ.สาธารณสุข - เร่งรัดพัฒนาการรับรองผู้สัมผัสอาหาร ชมรมผู้ประกอบการ/สมาคม มีส่วนร่วมในการพัฒนา - แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ศึกษาดูงาน หน่วยงานภาครัฐและสื่อมวลชนภาคเอกชน /ประชาสังคม/องค์กรแหล่งทุนให้การสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาความสัมพันธ์ -สร้างความร่วมมือระหว่างภาคีและการจัดทำหลักสูตรการอบรม (Stakeholder) ระดับภาคี มีกลไกในการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ภาคีCRM) - จัดระบบการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่าย มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ร่วมกันและนำไปใช้เชิงบูรณาการ - การจัดทำแผนอย่างมีส่วนร่วมและถ่ายทอดแผนฯสู่การปฏิบัติ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย - พัฒนาทักษะภาคีด้านระบบรับรองฯ มีระบบการพัฒนามาตรฐานวิชาการและกฎหมาย - พัฒนามาตรฐานและระบบงาน มีการจัดการความรู้และนวตกรรม - แลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดทำคลังความรู้ มีระบบการเฝ้าระวังที่มีคุณภาพ สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังโดยชุมชน ระดับกระบวนการ จนท.มีความรู้ทักษะในการดำเนินงาน (SMART) - พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพและทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ - พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง มีโครงสร้างองค์กรสอดคล้องกับงาน - ปรับเปลี่ยนระบบงานและมอบหมายงานให้เหมาะสมกับภารกิจ ระดับ พื้นฐาน