Value Stream Mapping ข้อมูลจากการประชุม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
Advertisements

บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
Lean Health Care Lean. คือ. TQM. โดยการกำจัด Waste
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean
การอภิปราย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
L051 ชื่อเรื่อง / โครงการ หัวหน้าทีม ชื่อ...นางสาวสุรีรัตน์ นามสกุล...ช่วงสวัสดิ์ศักดิ์ สมาชิกทีม ชื่อ...น.ส.จารุวรรณ... นามสกุล..เหล่านรินทวุฒิ
หมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ สหกรณ์
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานครั้งที่ 70
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
โครงการ Lean เรื่องกระบวนการรับเวร-ส่งเวร
โดย นางภารดี เจริญวารี
Waterfall model แบบจำลองน้ำตก
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
A3 PROBLEM REPORT A3 PROBLEM SOLVING พญ. พัชร์จิรา เจียรณิชานันท์
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ฟิล์มคุณภาพ แพทย์อ่านถูกต้อง
KAIZEN ( ไค-เซ็น ).
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การเพิ่มผลผลิต Productivity
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
หลักการแก้ปัญหา.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
TQM M4 แจ้งวัฒนะ - ราชพฤกษ์.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
โครงการสีวลี รามคำแหง - วงแหวน TQM: การเดินงานระบบไฟฟ้า / ประปา อย่างเป็นรูปแบบ.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Value Stream Mapping ข้อมูลจากการประชุม แพทย์หญิง พัชร์จิรา เจียรณิชานันท์ คุณสุภาณี นาควิเชียร ข้อมูลจากการประชุม Value Stream Mapping : รศ. นพ. กิตติ ลิ่มอภิชาติ Lean Concept : Application & Simulation In Healthcare 3 – 4 ตุลาคม 2554 คณะกรรมการ LEAN โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ Ref : Lean Hospital ; Mark Graban

Value Stream Mapping Womack & Jones Value Stream : สายธารคุณค่า = ชุดกิจกรรมเจาะจงทั้งหมดที่จำเป็นในการนำ ผลิตภัณฑ์ หรือบริการหนึ่งๆ ผ่านหน้าที่การ จัดการที่สำคัญทั้ง 3 ส่วนของธุรกิจใดๆก็ตาม ได้แก่ - งานการแก้ปัญหา - งานการจัดการข้อมูล - งานแปลงสภาพทางกายภาพ

Value Stream Mapping Value Stream Mapping : VSM = เครื่องมือที่จะช่วยให้ผู้นำองค์กรเห็นภาพรวมข้าม ขอบเขตของแผนก/หน่วยงานย่อย - คล้ายแผนผังกระบวนการที่ใช้ในการจัดการคุณภาพ โดยรวม (Total Quality Management: TQM) และแนวทางของ Six Sigma - บันทึกขั้นตอนต่างๆในกระบวนการ กิจกรรมที่เกิดขึ้น + เวลาที่ใช้ในแต่ละขั้นตอน + เวลารอคอยระหว่างขั้นตอน (เวลาที่มากที่สุดในระบบจากมุมมองของลูกค้า) ความสูญเปล่า

ให้แน่ใจว่าได้ผังสถานะปัจจุบันที่สะท้อนการทำงานของสิ่งต่างๆ ในปัจจุบัน Value Stream Mapping กระบวนการดังกล่าวจะได้มาจาก * การได้เดินลงไปดู หรือติดตามกระบวนการจริงที่ เกิดขึ้น ไม่ใช่การนั่งเขียนในห้องประชุม เพราะจะ เป็นการ ที่ “เราคิดว่า” กระบวนการเป็นอย่างไร * ต้องเป็นการเก็บข้อมูลจริง สังเกตกระบวนการจริง ไม่ใช่ของจริง ให้แน่ใจว่าได้ผังสถานะปัจจุบันที่สะท้อนการทำงานของสิ่งต่างๆ ในปัจจุบัน

Value Stream Mapping VSM เขียนขั้นตอนทั้งหมดตามลำดับ จากเริ่มต้น จน เสร็จสิ้น 2. ในแต่ละขั้นตอนร่วมกันวิเคราะห์ว่าขั้นตอนใดเป็น waste, value added หรือ necessary non value-added 3. วิเคราะห์สาเหตุของ waste โดยใช้ 5 Why ผังก้างปลา (Fish Bone Diagram) , Root cause cause analysis 4. ค้นหาแนวทางหรือวิธีแก้ไขเพื่อลดหรือกำจัด waste 5. สร้างขั้นตอนขึ้นมาใหม่ โดยลดความสูญเปล่า เพิ่มคุณค่า 6. ดำเนินการตามวิธีใหม่ แล้วเก็บข้อมูล/ผลที่เกิดขึ้น ทำการวิเคราะห์ 7. กลับไปเริ่มขั้นตอนแรกใหม่ เพื่อพัฒนาปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นไปอีก PDCA-Plane Do Check Act

ขั้นตอนที่ 1 การเขียนขั้นตอนปัจจุบัน Current Value Stream หรือ Current State Map หรือ As-Is State แยกแยะ แต่ละขั้นตอน แล้วเขียนต่อเนื่องกัน ให้ครบถ้วน จุดเริ่มต้น งานเสร็จส่งให้ลูกค้า / ผู้รับบริการ

ประโยชน์ของการเขียนสภาพปัจจุบัน เห็นความเป็นจริงของการดำเนินงานในปัจจุบัน ซึ่งหลาย ๆ กรณีจะเห็นได้ทันทีว่าไม่เป็นไปตามที่ควรจะเป็น ทำไมถึงทำแบบนี้ ? พบว่าขั้นตอนใดที่ต้องรอนาน หรือเป็นคอขวด (Bottle neck) ขั้นตอนใดที่ต้องรีบปรับปรุง ขั้นตอนใดที่ซ้ำซ้อน ยุ่งยากโดยไม่จำเป็น ขั้นตอนใดที่ไม่มีประสิทธิภาพ

ขั้นตอนที่ 2 ระบุ (จับเวลา วัดระยะทาง) ที่ใช้ในแต่ละขั้นตอน รวมทั้งช่วงที่ต้องรอ อย่างครบถ้วน (ในช่วงแรกอาจจะประมาณเวลาที่ใช้ก่อน) จุดเริ่มต้น เวลา......................................................... นาที ระยะทาง....................................................เมตร รวมเวลาที่ต้องใช้ทั้งหมด รวมเวลา หรือระยะทาง รวมทั้งการรอ Waiting ในกรณีที่ต้องการลดระยะทาง ลดค่าใช้จ่าย ลดวัสดุ ก็ วัดหรือระบุสิ่งที่ลดตามต้องการ

ขั้นตอนที่ 3 จุดเริ่มต้น งานเสร็จส่งให้ลูกค้า ร่วมกันพิจารณาว่า ขั้นตอนใดเป็น waste หรือ non value แต่จำเป็นหรือขั้นตอนใดสร้างคุณค่า Value จุดเริ่มต้น งานเสร็จส่งให้ลูกค้า = value = waste = necessary non value

เป็นความสูญเปล่า แก้ไขได้ง่ายสุด แก้ไขได้ยากกว่า แก้ไขได้ยากที่สุด

ประสิทธิภาพ = Value / เวลาทั้งหมด (cycle time) ขั้นตอนที่ 4 คำนวณหาประสิทธิภาพของกระบวนการทั้งหมดในโครงการนี้ รวมเป็น value ทั้งหมด หารด้วย เวลาทั้งหมดของกระบวนการตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น คือ value + waste + non value แต่จำเป็น ประสิทธิภาพ = Value / เวลาทั้งหมด (cycle time)

ขั้นตอนที่ 5 เสนอแนวการดำเนินการแบบใหม่ Future (Lean) State Map To-Be state หลังวิเคราะห์ หาสาเหตุ และลดหรือรวมขั้นตอน เสนอแนวการดำเนินการแบบใหม่ ดำเนินการ เก็บข้อมูลจริง ตามวิธีการใหม่ เพื่อดูผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง คำนวณประสิทธิภาพใหม่

ต้องเก็บข้อมูลอย่างละเอียดทุก ๆ ขั้นตอนหรือไม่ เก็บกี่ราย หรือ กี่รอบ ? ข้อมูลพื้นฐานก่อนทำโครงการ (Pre lean , As is state) ไม่จำเป็นต้องเก็บอย่างละเอียดหรือข้อมูลจำนวนมาก ไม่ควรเสียเวลา หลังทำโครงการ Lean ควรเก็บข้อมูล ให้ละเอียดและถูกต้องมากขึ้น เพื่อการติดตามความก้าวหน้าและประสิทธิภาพของกระบวนการให้ถูกต้อง โดยเฉพาะในการทำครั้งต่อ ๆ ไป (Continuous improvement – Kaizen)

Value Stream Mapping End to End Patient Flow Register  OPD/ER Admit  Discharge OPD  Ward Ward  OR  Ward OPD  Lab  Lab Report  Doctor

Value Stream Mapping Service Flow Material Flow Information Flow

การรายงานเปรียบเทียบ Pre-Post Lean กิจกรรม Pre-Lean Post-Lean ผลที่ได้ ขั้นตอน 12 ขั้นตอน 7 ขั้นตอน 5 ขั้นตอน (41.7%) ระยะเวลา 72 นาที (66 - 85 นาที) 52 นาที (49 - 54 นาที) 20 นาที (27.7%) % ประสิทธิภาพ 61.1% 86.5% 25.4%

Future State ท้าทายให้มุ่งสู่เป้าหมาย ค้นหาช่องว่าง (Gap analysis) หมายถึง การกำหนดเป้าหมาย รูปแบบ หรือขั้นตอนการบริการที่ดีที่สุดในอนาคตตามความฝัน หรือในอุดมคติ เช่น ประชาชนมาทำบัตรประชาชนใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที การรับรองบุคคลและเรื่องราวต่างๆใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที การแจ้งเกิด แจ้งตาย ใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที การขออนุญาตปลูกสร้าง รื้อถอนอาคาร ไม่เกิน 2 ชั่วโมง การออกแบบ ประมาณราคาในการก่อสร้างของหน่วยงานกทม. ไม่เกิน 30 วัน การประเมินผลงานทางวิชาการใช้เวลาในการดำเนินการ ไม่เกิน 2 เดือน ท้าทายให้มุ่งสู่เป้าหมาย ค้นหาช่องว่าง (Gap analysis) เพื่อหาวิธีการปรับปรุงให้ดีเรื่อย ๆ ตลอดเวลา จนได้ผลตามต้องการ

Future State ท้าทายให้มุ่งสู่เป้าหมาย ค้นหาช่องว่าง (Gap analysis) หมายถึง การกำหนดเป้าหมาย รูปแบบ หรือขั้นตอนการบริการที่ดีที่สุดในอนาคตตามความฝัน หรือในอุดมคติ เช่น ผู้ป่วยเมื่อตรวจเสร็จ รอรับยาไม่เกิน 5 นาที ผู้ป่วยที่มาตามกำหนดเวลานัด จะได้พบแพทย์ทันที หรือไม่เกิน 15 นาที ความผิดพลาดต่าง ๆ เช่น อัตราแผลกดทับ อัตราการติดเชื้อหลังใส่สายสวนต่าง ๆ อัตราการให้ยาผิดหรือจ่ายยาผิดเป็น 0 งานพัสดุ – คลังพัสดุ จะไม่มีของขาดเลย จะรอเปลไม่เกิน 5 นาที ในกรณีที่ขอด่วน ท้าทายให้มุ่งสู่เป้าหมาย ค้นหาช่องว่าง (Gap analysis) เพื่อหาวิธีการปรับปรุงให้ดีเรื่อย ๆ ตลอดเวลา จนได้ผลตามต้องการ

Current Value Stream LEAN 1 LEAN 2 LEAN 3…. Ideal Value Stream

นอกจากลดเวลารอคอย ลด Waste หรือลด Cycle time หรือระยะทางการเดิน ยังอาจหมายถึง : ลดพื้นที่ทำงาน / เพิ่มพื้นที่ใช้สอย ลดค่าใช้จ่าย ลดอุปกรณ์ ลดเครื่องมือ ลดคนทำงาน ลดความผิดพลาด เพิ่มความปลอดภัยของผู้ป่วย

ผลที่เกิดจาก Lean  P Q C D S M E E P roductivity เพิ่มประสิทธิผล ปริมาณงาน Q uality เพิ่มคุณภาพ C ost ลดค่าใช้จ่าย D elivery ส่งมอบได้รวดเร็ว S afety ปลอดภัยมากขึ้น ไม่เพิ่มความเสี่ยง M orale ขวัญกำลังใจของบุคลากรเพิ่มขึ้น E nvironment สภาพแวดล้อมในการทำงานดีขึ้น สะอาด เป็นไปตามหลักการศาสตร์ (Ergonomic) ลดการใช้ไฟฟ้า น้ำ ลดภาวะโลกร้อน (Global Warming) E thics มีคุณธรรม จรรยาบรรณเพิ่มขึ้น