กรมอนามัยกับระบบอาหารปลอดภัยของจังหวัด(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองท้องถิ่น
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
แผนการขับเคลื่อน พันธะสัญญาคนอีสาน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การศึกษาต้นทุนการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ : ศึกษากรณีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ คณะวิจัย นายธนชีพ พีระธรณิศร์ นักวิชาการสาธารณสุข.
เกิดได้ก็ดี คาดว่าต้องเกิด ต้องเกิด เกษตรปลอดสาร ประชาชนฉลาดซื้อ ฉลาดใช้ ฉลาดกิน มีศูนย์รับข้อร้องเรียน คาดว่าต้องเกิด ครัวเรือนปลูกผักกินเอง “
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ถอดรหัสสุ่มประเมิน แท่ง เชียงราย / พะเยา เจาะลึกเฉพาะเชียงราย
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
ภาพความสัมพันธ์การทำงานคุ้มครองผู้บริโภค ท่าข้าม
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
โครงการ ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ( ใ น พื้ น ที่ เ ข ต เ ท ศ บ า ล น ค ร สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี )
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศ 142,234 แห่ง เป้าหมายการดำเนินงานอาหารสะอาด รสชาติ อร่อย ปี 2549 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้ มาตรฐาน 60%
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การดำเนินงาน เพื่อดูแลคุณภาพ ชีวิตเกษตรกร โดย นางสาวมยุรี บุญญาเสนีย์กุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 5 สำนักพัฒนาเกษตรกร กรม ส่งเสริมการเกษตร.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรมอนามัยกับระบบอาหารปลอดภัยของจังหวัด(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด) การควบคุมอาหารปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อาหาร ของกรมอนามัย ตาม พรบ. การสาธารณสุข 2535 หมวด 7,8และ9 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

ประชาชนได้รับอาหารและน้ำที่สะอาดปลอดภัย Time line สุขาภิบาลอาหารและน้ำของประเทศ ประชาชนได้รับอาหารและน้ำที่สะอาดปลอดภัย Optimal Goal Targets/setting แหล่ง/สถานบริการอาหาร สะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐาน Area Implement พื้นที่/ท้องถิ่นดำเนินการตามกฎหมาย ผู้ประกอบการและเครือข่ายทำตามกฎหมาย ผู้บริโภคแจ้งข้อมูล มาตรฐาน/คู่มือ/เทคโนโลยี/ระบบ ระบบ มาตรการและแนวทาง ระบบ มาตรการและแนวทาง Output ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี เร่งรัด ถ่ายทอด เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ระบบการสนับสนุน(ข้อมูล/เฝ้าระวังฯ) Internal System

5 Factors Food Sanitation พรบ.การสาธารณสุข 2535 หมวด8 หมวด8 หมวด8 หมวด7 หมวด9 ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ 5 Factors Food Sanitation

Thailand Food and Water Sanitation Activity Relation CFGT,Healthy Markets etc. Central and Region Data and Reporting Area Data and Reporting Project Base Phy/Bio/Chem/Beh ประปาดื่มได้/พระราชดำริ Physical Biological Chemical ร้าน/แผง/ตลาด/โรงเรียน AC โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้าน/แผง/ตลาด อาหารชายแดน Quality,M&E Phy/Bio Phy/Bio/Chem/Beh รถเร่/ตลาดนัด Setting Base Area Base ระบบประปา/แหล่งธรรมชาติ ถัง/ขวด/หยอดเหรียญ เทศบาล,อบจ,อบตฯ กิจการหมวด7,8,9

สรุปกรอบการดำเนินงานตามนโยบายกรมอนามัย Formulate ,Advocate ,Regulate องค์กรปกครองท้องถิ่น อนุกรรมการสาธารณสุขฯ กระทรวง เขตสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายตามพรบ.การสาธารณสุข หมวด7,8,9 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ศูนย์อนามัย สาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานในสังกัด *ร้านอาหาร/แผงลอย *ตลาดสด/ตลาดนัด *โรงอาหาร/โรงครัว *ระบบประปา *คุณภาพน้ำดื่ม *อนามัยสิ่งแวดล้อม *อาชีวอนามัย *ส่งเสริมสุขภาพ *คุ้มครองผู้บริโภค *ควบคุมโรค/พัฒฯ CFGT+,ตลาดนัดน่าซื้อ,โรงครัว,โรงอาหาร,คุณภาพน้ำบริโภคฯลฯ

โครงการตลาดนัดสะอาด อาหารปลอดภัย นโยบายสำคัญ 2557 โครงการตลาดนัดสะอาด อาหารปลอดภัย  โครงการร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี (Clean Food Good Taste Plus : CFGT+)  โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำดื่มสะอาดปลอดภัย เพื่อส่งเสริมสุขอนามัยจากแหล่งผลิตและสถานที่สาธารณะ 6

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหารและ ภารกิจสำคัญ 2557 โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหารและ จัดทำบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหารใน อปท.ต้นแบบ  โครงการพัฒนาคุณภาพและส่งเสริมการจัดการ น้ำสะอาดเพื่อการบริโภค  โครงการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 7

โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย เป้าหมาย : ตลาดนัด 1 แห่งต้นแบบ/จังหวัด หลักเกณฑ์ 1.ทำการสำรวจตลาดนัดในพื้นที่ 2.ทำการตรวจแนะนำตามมาตรฐาน 3.มีการตรวจสอบสารปนเปื้อน และ ปชส.ผลการตรวจสอบ 4.มีแผงสินค้าเกษตรปลอดสาร/เกษตรอินทรีย์ 5.ผู้ขายในตลาดผ่านการอบรม/มีความรู้ 5.มีกิจกรรมส่งเสริมรักษาสิ่งแวดล้อม 6.มีกิจกรรมของชมรม/กลุ่ม/เครือข่ายผู้ขายของ 7.เป็นที่ศึกษาดูงาน

โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย ส่วนกลาง จัดแถลงข่าว - ประชุมมอบนโยบาย - จัดกิจกรรมรณรงค์ ตรวจเยี่ยมตลาด - ปชส.ผ่านสื่อต่างๆ - นิเทศ ติดตาม ศูนย์เขต -ประสาน สสจ./ อปท. สนับสนุน สสจ./ อปท.พัฒนาตลาด ร่วมสุ่มสำรวจความปลอดภัยอาหาร - สนับสนุน นิเทศ ติดตาม สสจ. -ประสาน อปท.สำรวจ/ตรวจแนะนำ/คัดเลือกตลาด สนับสนุน อปท./เจ้าของพัฒนาตลาด ร่วมสุ่มสำรวจความปลอดภัยอาหาร - สนับสนุน นิเทศ ติดตาม

โครงการร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี โครงการร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี (Clean Food Good Taste Plus : CFGT+) เป้าหมาย : 3-5 แห่ง/จังหวัด หลักเกณฑ์ “ร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี” 1.ผ่านเกณฑ์ อาหารสะอาด รสชาติอร่อย 2.ส้วมในร้านผ่านเกณฑ์ HAS 3.มีอ่างล้างมือสำหรับผู้บริโภค 4.มีช้อนกลางสำหรับผู้บริโภค 5.ผักสดปลอดสารพิษ ยาฆ่าแมลง 6.ผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมและมีบัตรประจำตัวฯ 7.ใช้ถุงมือสัมผัสอาหาร

Clean Food Good Taste Plus : CFGT+ ส่วนกลาง - ประชุมผู้เกี่ยวข้อง - ปชส.ผ่านสื่อต่างๆ -สนับสนุน ป้าย ผ้ากันเปื้อน ชุดทดสอบ - ตรวจประเมิน ตรวจเยี่ยม ประเมินผล ศูนย์เขตและสสจ. -ประสาน อปท.คัดเลือกพื้นที่ ต้นแบบ ตรวจแนะนำ และตรวจประเมิน รับรอง CFGT+ สนับสนุน นิเทศ ติดตาม

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหารและ จัดทำบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหารใน อปท.ต้นแบบ เป้าหมาย : 5,000 คน ส่วนกลาง จัดตั้งคณะกรรมการ – ประสาน ศูนย์ สสจ. อปท. และ FSI ประชุมคณะกรรมการ – เตรียมการ และจัดการอบรม – สรุป ประเมินผล – ติดตามผลการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหาร เผยแพร่รูปแบบการจัดอบรมสู่ อปท.อื่นๆ -ปชส.ผ่านสื่อต่างๆ ศูนย์เขตและสสจ. -ประสาน อปท. และ FSI ร่วมกับส่วนกลางในการจัดอบรม ร่วมติดตามผลการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหาร

โครงการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำ เป้าหมาย - ร้านอาหาร แผงลอย ตลาดนัด - จังหวัดที่เกิดเหตุฉุกเฉิน/สาธารณภัย/พท.เสี่ยง ส่วนกลาง -ประสาน ชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง – วิเคราะห์/แปรผลข้อมูลที่เกี่ยวข้อง-จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ การเฝ้าระวัง และปชส. – ประชุมชี้แจงจนท.ศูนย์เพื่อวางแผนการดำเนินงาน – ดำเนินการเฝ้าระวัง - สรุปผล ศูนย์เขตและสสจ. -ศูนย์เขตดำเนินการในพื้นที่ ประสานงาน สสจ. อปท. ร่วมดำเนินการ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลในพื้นที่ ดำเนินการเฝ้าระวังฯ -รวบรวมสรุปผล

กรมอนามัย ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี

ชื่อ : นายธนชีพ พีระธรณิศร์ ตำแหน่ง : นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ประธานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข Tel 02-590-4638 Fax 02-590-4188,4186 Mobile : 081-821-2681,084-649-7787 E-mail : thana_1962@hotmail.com Facebook : www.facebook.com/thanacheep Line ID : thanacheep