ผลการประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง บทบาทของภาคธุรกิจใน การสนับสนุนให้นำเอา GHS ไปปฏิบัติ กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม นำเสนอต่อการประชุมสัมมนาระดับชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมาชิกกลุ่ม 1. คุณกรองแก้ว ศุภวัฒน์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2. คุณศิริมา ปัทมดิลก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3. นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ
Advertisements

สรุปประเด็นกลุ่ม 1 การเตรียมการและการ กำหนดท่าทีในการเจรจา ต่อรองในระดับสากล.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
การค้ามนุษย์.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
ผลการประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง Sectoral GHS Implementation Strategies and Development of related Legislation and Plan กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector.
การระดมความ คิดเห็น ภาคประชาชน แรงงาน และ ผู้บริโภค.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 3rd ปัญหา อุปสรรค แนวโน้มของ อุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. จัดทำนโยบาย.
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง บทบาทของภาคธุรกิจใน การสนับสนุนให้นำเอา GHS ไปปฏิบัติ กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม นำเสนอต่อการประชุมสัมมนาระดับชาติ เรื่อง GHS: การพัฒนา ศักยภาพของประเทศไทยในการจัดการสารเคมีตามระบบสากล วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ ณ โรงแรม เซอร์ เจมส์ ลอดจ์ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี

ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ประธานนายเชวง จาว เลขานุการนางสาวเบญจวรรณ โชคชัยตระกูลโพธิ์ ผู้เข้าร่วมประชุม ประมาณ 40 คน เวลาที่ใช้1 ชั่วโมง 15 นาที (15:00 – 16:15) ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1.ศักยภาพของภาคธุรกิจ 2.การลงทุนภาคธุรกิจ ระยะเตรียมการ 3.การเตรียมความพร้อม 4.อนาคต กิจกรรม โครงการความร่วมมือ

ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม 1.ศักยภาพของภาคธุรกิจ 1.1 ศักยภาพ -ในส่วนของวิสาหกิจขนาดใหญ่ไม่น่าจะมีปัญหามากในการเตรียมตัว เพื่อรับเอาระบบ GHS มาใช้ -ในส่วนของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยังคงต้องการความ ช่วยเหลืออีกมาก 1.2 ข้อเสนอ -ระบบฐานข้อมูลเดียวกันโดยอาศัยกลไกและการสนับสนุนจากภาครัฐ -การฝึกอบรมที่ต่อเนื่องให้มีความรู้ความเข้าใจในสารเคมีที่เกี่ยวข้อง -เอกสารข้อมูลความปลอดภัย -ฉลาก -ภาชนะบรรจุ -สถานที่เก็บ -การขนส่ง -การใช้งาน เป็นต้น - การพัฒนาบุคคลากรของภาครัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อสามารถให้คำแนะนำ อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง และการกำหนดนโยบายและกฎหมายที่ ชัดเจน

ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม 2. การลงทุนภาคธุรกิจ ระยะเตรียมการ -บุคลากร เพื่อรองรับการปฏิบัติตามระบบ GHS โดยเฉพาะ วิสาหกิจขนาดย่อม อาจจะต้องใช้เวลามากกว่าหนึ่งปี -การทดสอบ ทั้งศักยภาพและบุคคลากร -ทางกายภาพ อาจจะเป็นการประสานงานร่วมกันระหว่างภาครัฐกับ ภาคธุรกิจ -ทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ควรจะมีหน่วยงานกลางที่รับผิดชอบ ในเรื่องนี้ เช่น กรมวิทยาศาสตร์บริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย เป็นต้น -ระบบฐานข้อมูลกลางเพื่อช่วยเหลือวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม -สส

ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม 3. การเตรียมความพร้อม -Training the trainers - ประชาสัมพันธ์ - ฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง - มีส่วนร่วมกับภาครัฐในการกำหนดแนวทางการนำเอาระบบ GHS มาใช้ เพื่อให้เกิดการนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม - การสำรวจและติดตาม ประเมินผลผู้ทำการฝึกอบรมและผู้ที่ ได้รับการฝึกอบรม - งบประมาณที่ต้องใช้ในการเปลี่ยนแปลงฉลากและการวางแผน ที่ดี

ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม 4. อนาคต กิจกรรม โครงการความร่วมมือ -ให้ความร่วมมือกับภาครัฐอย่างต่อเนื่อง -ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง -ฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง -ระบบฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกันได้อย่างแท้จริง เพื่อวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม -การทดสอบ การตรวจสอบข้อมูลที่อยู่บนมาตรฐานเดียวกัน ทั้งสินค้าที่นำเข้าและส่งออก -สนับสนุนให้เกิดกฎหมายที่ชัดเจนและง่ายต่อการปฏิบัติ -มีการบังคับใช้อย่างเป็นรูปธรรมและเสมอภาค