การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector
ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร : เผยแพร่ต่อเกษตรกรผู้ใช้
กรมส่งเสริมสหกรณ์ : เผยแพร่ต่อ เกษตรกรผู้ใช้ และกลุ่มสมาชิก สำนักโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม ( กรมควบคุม โรค กระทรวงสาธารณสุข ) : เผยแพร่ และถ่ายทอดความรู้ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน : ภาคเกษตร : กระทรวงแรงงาน สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ แห่งชาติ : สมัชชาเกษตรกร
ความร่วมมือ กำกับดูแลวัตถุอันตราย ภายใต้ พระราชบัญญัติวัตถุ อันตราย พ. ศ ส่งต่อความรู้ ความเข้าใจกับ หน่วยงานที่จะเผยแพร่ต่อ ผู้ใช้ ประชาชน เกษตรกร สมาชิกสหกรณ์
ผู้แทนของกรมประมง และกรม ปศุสัตว์ เป็นอนุกรรมการใน คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย ใน ส่วนที่กรมวิชาการเกษตรเป็น ผู้รับผิดชอบ ผู้แทนของกรมวิชาการเกษตร ประสานงานกับผู้แทนของกรม ประมงและกรมปศุสัตว์ ในการ ขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่ใช้ใน การประมงและการปศุสัตว์
จุดอ่อน เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานที่มี ความรู้ด้าน GHS มีจำนวน จำกัด จุดแข็ง มีเจ้าหน้าที่ที่จะ สื่อสาร เผยแพร่ความรู้ ด้าน GHS สู่ เกษตรกรหรือ ผู้ใช้อย่างทั่วถึง ( เกษตรตำบล ประมาณ 5000 คน สารวัตร เครือข่าย ประมาณ 100 คน )
ศักยภาพของหน่วยงาน ในฐานะที่กำกับดูแลการนำเข้า สามารถเรียกข้อมูลที่จะนำมาใช้ ในการจำแนกสารเดี่ยวได้ ครบถ้วนและจัดทำฉลากในระบบ GHS ได้ ในฐานนะผู้ส่งออก : Mixture สาร ผสม / ผลิตภัณฑ์ ยังไม่สามารถ ทำฉลากตามระบบ GHS ได้ เนื่องจากขาดข้อมูล : Health / Environment ( ไม่มี Lab. GLP)
2. ควรส่งเสริมให้ทำฉลาก ของ Pesticide ที่เป็น สารเดี่ยว เช่น Technical Grade material และ จำแนกสารเคมีทาง กายภาพตามระบบ GHS ก่อน
3. กล ยุทธ ระยะสั้น 3.1 เสริมสร้างประสิทธิภาพในการ กำกับดูแลวัตถุอันตราย 3.2 เสริมสร้างสมรรถนะของบุคลากร ภาครัฐ ให้สามารถจำแนกสารผสม ได้ 3.3 เสริมสร้างสมรรถนะของ บุคลากรภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน ให้มีความรู้ความ เข้าใจในระบบ GHS 3.4 ให้หน่วยงานมหาวิทยาลัยเข้ามา มีส่วนร่วมในการจัดทำระบบ GHS
ระยะยาว 3.4 เสริมสร้างความเข้มแข็งของ ห้องปฏิบัติการ : GLP 3.5 สร้างบุคลากรทางด้าน วิทยาศาสตร์ สาขาที่เกี่ยวข้องกับ GHS ให้สามารถ generate ข้อมูล สารเคมีด้าน - Physical - Chemical - Health - Environment
4. ( ร่าง ) แผนการนำ GHS ไปปฏิบัติในภาคเกษตรกรรม กิจกรรม / โครงการ วัตถุประส งค์ ( ประเด็น ที่ต้อง พัฒนา หรือ ช่องว่าง ที่ต้องการ แก้ไข ) หน่วยงาน / สนับสนุน งบประมา ณ / งบ สนับสนุ น ผู้เชี่ยวชา ญ / บุคลากรที่ ต้องการ ผลที่คาด ว่าจะ ได้รับ 1. ปรับปรุง กฎหมาย ที่ จำเป็น เพื่อให้ กฎหมา ยมี ความ สอดคล้ อง กับระบบ GHS กรม วิชากา ร เกษตร กรม ประมง กรมปศุ สัตว์ งบปกตินิติกร นักวิชากา รของ แต่ละ หน่วยง าน กฎหมาย มีความ สอดคล้อง กับ ระบบ GHS สามารถ บังคับ ใช้ได้ 2. ฝึกอบร ม นักวิชา การ เพื่อให้ สามาร ถ จำแนก สาร ผสม ได้ กรม วิชากา ร เกษตร กรม ประมง กรมปศุ สัตว์ UNITAR JETRO ทำฉลาก ตาม ระบบ GHS ได้
กิจกรรม / โครงการ วัตถุประส งค์ ( ประเด็น ที่ต้อง พัฒนา หรือ ช่องว่าง ที่ต้องการ แก้ไข ) หน่วยงาน / สนับสนุน งบประมา ณ / งบ สนับส นุน ผู้เชี่ยวชา ญ / บุคลากรที่ ต้องการ ผลที่คาด ว่าจะ ได้รับ 3. ฝึกอบร ม บุคลากร ภาครัฐ เพื่อนำ ความรู้ ที่ ได้ไป ฝึกอบร ม ให้แก่ ภาคเอ กชน / ภาค ประชา ชน กรมวิชาการ เกษตร กรมประมง กรมปศุ สัตว์ กรม ส่งเสริม การเกษตร งบปกติกรม โรงงาน อุตสาหกร รม อย. ภาคเอกช น และ ภาค ประชา ชนมี ความรู้ ความ เข้าใจใน ระบบ GHS 4. ประชา สัมพันธ์ ผ่านสื่อ ต่างๆ เพื่อให้ ประชา ชน มีความรู้ เกี่ยวกั บ ระบบ GHS กรมวิชาการ เกษตร กรมประมง กรมปศุ สัตว์ กรม ส่งเสริม การเกษตร งบปกติ นัก ประชาสั มพันธ์ ของ หน่วยง านที่ เกี่ยวข้อง ประชาชน สามารถ อ่าน ฉลากตาม ระบบ GHS แล้ว เข้าใจ ถูกต้อง
5. แผนการพัฒนาศักยภาพของ หน่วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน สอดแทรกระบบ GHS เข้าไปใน หลักสูตรการศึกษา พัฒนาระบบฐานข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับระบบ GHS - ข้อมูลสารเคมี - ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง - ห้องปฏิบัติการ GLP สำหรับ ตรวจสอบคุณสมบัติ ทาง กายภาพ ทางเคมี สิ่งแวดล้อม สุขภาพ ฯลฯ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการ เฝ้าระวัง และติดตามอันตรายจากการ ใช้สารเคมี เสนอให้มีการจัดตั้ง Working Group on ASEAN GHS
THANK YOU Agriculture Sector