น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Advertisements

Graduate School Khon Kaen University
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
โครงการการวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลการตรวจวินิจฉัยเชื้อมาลาเรียโดยชุดน้ำยาสำเร็จรูปกับวิธีตรวจฟิล์มหนาในพื้นที่จังหวัดตาก น้องเลี้ยง นางสาวเสาวนีย์ ดีมูล.
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
จุฑาทิพย์ ชมภูนุช สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน 65%
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
การวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อโรคเลปโตสไปโรซีส
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
ชื่อนักวิจัย / ผู้ดำเนินงาน งบประมาณได้รับสนับสนุน บาท เบิกจ่ายแล้ว บาท ชื่อโครงการ สังกัดพื้นที่ คณะ สาขา รายงาความก้าวหน้าโครงการวิจัยและบริการ.
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ผู้ป่วยมาลาเรียคนไทยและต่างชาติ
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช ระบาดวิทยาและรูปแบบที่เหมาะสมในการป้องกันควบคุมโรคมาลาเรียในกลุ่มแรงงานต่างชาติภาคใต้ตอนบน น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช

ความเป็นมา โรคมาลาเรียเป็นปัญหาสาธารณสุขระดับโลก ภูมิภาค ประเทศไทย และภาคใต้ตอนบน โดยเฉพาะพื้นที่ชายแดนไทย - พม่า ปี 2550 อัตราการการตรวจพบเชื้อ (SPR) ในแรงงานต่างด้าวสูงเป็น 3 เท่าของคนไทย ( 5.14 : 1.85 ) ปี 2552 อัตราป่วยต่อแสนประชากรในกลุ่มแรงงานต่างชาติ ใน จ.ระนอง สูงกว่าคนไทย (290.05 และ 244.62 ) แรงงานที่ซ่อนเร้นมีมากกว่าแรงงานขึ้นทะเบียน มีปัญหาการติดเชื้อสู่คนไทย ศตม. มีภารกิจหลักในการป้องกันควบคุมโรคมาลาเรีย

คำถามการวิจัย ระบาดวิทยาในกลุ่มแรงงานต่างด้าวที่ป่วยด้วยโรคมาลาเรียเป็นอย่างไร? รูปแบบการป้องกันควบคุมโรคมาลาเรียในกลุ่มแรงงานต่างด้าว ที่เหมาะสมควรเป็นอย่างไร?

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาในกลุ่มแรงงานต่างชาติภาคใต้ตอนบน เพื่อศึกษารูปแบบที่เหมาะสมในการป้องกันควบคุมโรคในกลุ่มแรงงานต่างชาติภาคใต้ตอนบน

วิธีการศึกษา (1) เป็นการวิจัยเชิงปริมาณทางด้านระบาดวิทยา เก็บข้อมูลทุติยภูมิ จากรายงาน 506 และรายงานการสอบสวนและรักษาหายขาดผู้ป่วย ( รว.3) ในปี 2550 – 2552 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อหารูปแบบการป้องกันควบคุมโรคมาลาเรียที่เหมาะสม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรกลุ่มตัวอย่าง รวม 24 คน ได้แก่ - กลุ่มแรงงานต่างด้าว 8 คน - กลุ่มนายจ้างภาคเกษตรกรรม 4 คน - กลุ่มแกนนำชุมชน 2 คน - กลุ่มเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 6 คน - กลุ่มภาคเอกชน (NGO) 4 คน ( นคม. , ศตม. , สสจ.)

วิธีการศึกษา ( 2 ) พื้นที่ศึกษาหรือดำเนินโครงการ จังหวัดชายแดนติดกับพม่า ที่มีอัตราการตรวจพบเชื้อ (SPR) และอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียในแรงงานต่างด้าวสูง ได้แก่ 1.ระนอง อัตราป่วยต่อแสนประชากร ปี 2550 – 2552 คิดเป็น 869.05 , 407.71 และ 290.05 ตามลำดับ โดยคัดเลือกพื้นที่ นคม.ที่ 11.5.3 กระบุรี 2.ชุมพร อัตราป่วยต่อแสนประชากร ปี 2550 – 2552 คิดเป็น 19.60 , 26.61 และ 34.45 ตามลำดับ และมีปัญหาการกลับมาระบาดของโรคในคนไทย โดยคัดเลือกพื้นที่ นคม.ที่ 11.4.2 ท่าแซะ

วิธีการศึกษา (3) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - สคร.ที 11 นครศรีธรรมราช - ศตม.ที่ 11.4 ชุมพร และ ศตม.ที่ 11.5 ระนอง - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนองและชุมพร - ภาคเอกชน (NGO ) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยสรุปเชิงเนื้อหา (Content Analysis)

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การนำผลไปใช้ประโยชน์ - นำองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปใช้ในการป้องกันควบคุมโรคมาลาเรียในกลุ่มแรงงานต่างชาติ - อาจเสนอแนะเชิงนโยบายในการกำหนดรูปแบบการป้องกันควบคุมโรคและจัดระบบบริการสุขภาพที่เหมาะสม

ระยะเวลาที่ศึกษา เดือน ธ.ค.53 - ส.ค.54 ตามแผนงานดังนี้ ขออนุมัติด้านจริยธรรมการวิจัย เดือน ธ.ค.- ม.ค. เก็บรวบรวมข้อมูล เดือน มี.ค.- เม.ย. วิเคราะห์และแปลผลข้อมูล เดือน มี.ค. เขียนรายงานการวิจัย เดือนมิ.ย. - ก.ค. เผยแพร่ผลการวิจัย เดือน ส.ค.

งบประมาณและแหล่งทุน งบประมาณจากกองการเจ้าหน้าที่ เป็นเงิน 30,960 บาท งบประมาณจากกองการเจ้าหน้าที่ เป็นเงิน 30,960 บาท รายละเอียด ดังนี้ การประสานงานและการเก็บข้อมูล 14,640 บาท ค่าชดเชยอาสาสมัครแรงงานต่างด้าว 800 บาท ค่าจ้างเหมาบริการ(ถ่ายเอกสาร ทำเล่ม เผยแพร่ ) 3,020 บาท ค่าตอบแทนล่าม 2,000 บาท ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและคอมพิวเตอร์ 10,500 บาท

ทีมงาน น้องเลี้ยง พี่เลี้ยง ที่ปรึกษา น้องเลี้ยง นายสุริโย ชูจันทร์ พี่เลี้ยง นายยุทธพงศ์ หมื่นราษฎร์ ที่ปรึกษา นายแพทย์สราวุธ สุวรรณทัพพะ